ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป |
ผู้ส่ง |
ข้อความ |
assunnah มือเก่า
เข้าร่วมเมื่อ: 21/06/2012 ตอบ: 50
|
ตอบ: Wed Oct 17, 2012 5:15 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
ท่านรู้ดีว่ามีผู้นำฮาดิษนี้มาเป็นหลักฐานแต่อยากทราบว่าเพราะอะไร |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Wed Oct 17, 2012 9:06 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | ขออนุญาตก๊อปปี้จากอีกกระทู้หนึ่งมาถ่ายทอดครับ
..... คุณร้องหาหลักฐานอีกแล้ว ทั้งที่ผมอธิบายไปแล้ว นั่นคือ
ที่จริง คุณอะสัน ไม่น่าจะถามผมนะครับ น่าจะชี้แจงเรื่องการอ่านยาซีนวันศุกร์ ว่ามีหลักฐานห้ามอ่านหรือไม่
คุณก็น่าจะรู้ ว่าสำหรับผม อ่านได้เสมอ ยกเว้นที่มีหลักฐานชัดเจนระบุห้ามเท่านั้น
คุณกล่าวว่า การอ่านยาซีนในคืนวันศุกร์เป็นการเจาะจง และการเจาะจงนั้นเป็นสิ่งผิด โดยคุณมิได้มีหลักฐานใดเลยมายืนยันทัศนะของคุณ นอกจากทัศนะจากนาย ก. หรือ นาย ข. เท่านั้น |
لَقَدْ كَانَ لَكُمْ فِي رَسُولِ اللَّهِ أُسْوَةٌ حَسَنَةٌ
"แน่นอนยิ่งในตัวร่อซูลนั้น มีแบบอย่างที่ดีแล้วแก่พวกสูเจ้า" อัลอะหฺซาบ อายะฮฺที่ 21
แล้วใหนละครับแบบอย่างนบี ที่ท่านได้ให้ความสำคัญเป็นกรณีพิเศษในการอ่านซูเราะยาสีนในค่ำคืนวันศุกร์ โดยสอนว่าดีกว่า ประเสริฐกว่าวันอื่น
คุณปฏิบัติ โดยใช้อารมณ์และความคิดของคุณเป็นแบบ คุณไม่ได้ใช้การปฏิบัติของนบี เป็นแบบ ศาสนาสอนให้คุณปฏิบัติตามแบบอย่างไม่ใช่หรือ
เมื่อไม่มีแบบ คุณก็อ้างว่านบี ไม่ได้ห้าม คุณก็ทำทุกอย่างโดยอ้างหลักฐานรวม
คุณจะทำ ไม่มีใครห้าม แต่ถามว่า ท่านนบี เคยทำไหม อ่านยาสีนเป็นประจำทุกวันศุกร์ โดยสอนว่ามีความประเสริฐกว่า วันอื่นๆ ผมย้ำหลายครั้งแล้วว่า การกระทำเป็นพิเศษ เพราะความเชื่อ อย่างที่ได้ตอบคำถามของคุณ fat ซึ่งการกระทำลักษณะนี้ อย่างที่ท่านอบูชามะฮกล่าว
"ولا ينبغي تخصيص العبادات بأوقات لم يخصصها بها الشرع ، بل يكون جميع أفعال البر مرسلة في جميع الأزمان ليس لبعضها على بعض فضل ، إلا ما فضله الشرع وخصه بنوع من العبادة ، فإن كان ذلك ، اختص بتلك الفضيلة تلك العبادة دون غيرها
ไม่สมควรเจาะจงอิบาดะฮ ด้วยบรรดาเวลา ซึ่ง ศาสนบัญญัติไม่ได้เฉพาะเจาะจงด้วยมัน แต่ทว่า บรรดาการกระทำความดีทั้งหมด ถูกปล่อยให้อยู่ในบรรดาเวลา โดยที่ส่วนหนึ่งไม่ได้มีความประเสริฐเหนื่ออีกส่วนหนึ่ง เว้นแต่ สิ่งที่ ศาสนบัญญัติได้ระบุความประเสริฐมันและได้เฉพาะเจาะจงมัน ด้วยชนิดอิบาดะฮ เพราะถ้าหากได้ปรากฏดังกล่าวนั้น อิบาดะฮดังกล่าวนั้นก็ได้ถูกเจาะจง ด้วยความประเสริฐดังกล่าว โดยไม่ได้เจาะจงอิบาดะฮอื่นจากมัน- الباعث لإنكارอัลบาอิษ ลิอิงการิลบิดอิ วัลหะวาดิษ หน้า 48).......
เวลาผมว่า เป๋าปี่ให้ควายฟังคุณก็หาว่าผมซุนนะฮจอมปลอม ผมบอกกี่ครั้งแล้ว ส่วนที่คุณมีโอกาสคุณทำเป็นประจำโดยส่วนตัวคุณ ในวันใดๆ มันไม่มีปัญหา ปัญหาอยู่ที่ความเชื่อว่าประเสริฐ ดีกว่าวันอื่น หรือเชื่อว่า วิญญานปู่ย่าตายายมาเยี่ยม ดังที่เขาถาม ส่วนหะดิษที่แสดงบอกว่าเราทำอิบาดะฮเป็นประจำนั้นเป็นสิ่งดี ได้แก่
أحب الأعمال إلى الله أدومها وان قل "" رواه مسلم
บรรดาการงานที่เป็นที่รักยิ่งแก่อัลลอฮ คือ การงานที่ทำเป็นประจำ แม้จะเล็กน้อยก็ตาม - รายงานโดยมุสลิม
........
ผมพยายามชี้แจงเป็นสิบๆครั้งแต่คุณไม่ยอมรับฟัง เพราะเหตุนี้แหละผมจึงอยากให้คุณบอกนามจริงออกมา เพื่อผมจะได้บอกศิษย์ของคุณว่าคุณนี้ไร้เดียงสา ต้องขอมาอัฟ ผมอดทนมาหลายครั้งแล้ว _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม
แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย asan เมื่อ Wed Oct 17, 2012 9:22 pm, แก้ไขทั้งหมด 1 ครั้ง |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Wed Oct 17, 2012 9:14 pm ชื่อกระทู้: Re: ยาซีน |
|
|
[quote="fat"]1.การเจาะจงอ่านซุเราะห์ยาซีนในค่ำคืนวันศุกร์ ด้วยเชื่อว่า บรรดาญาติพี่น้องที่ตายจากไปแล้วจะกลับมา ถูกต้องหรือไม่
/quote]
ผมได้นำคำถามที่คุณ fat มาให้คุณอับดุฮ อ่านอีกครั้ง และผมได้ชี้แจงไปแล้วว่า นี้คือที่ผมหมายถึงในคำตอบ ถ้ายังถามอีกซ้ำซากผมลบทันที เพราะคุณ เห็นคุณถามเรื่องเดียวกันทั้งสองกระทู้ทั้งที่ผมบอกไปแล้ว คุณตีรวน ต่อไปถ้ามีคนถาม คุณมานอกประเด็น ผมลบทันที _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 7:50 am ชื่อกระทู้: |
|
|
ถ้าเช่นนั้นผมคงยังไม่สามารถหาหลักฐานที่คุณอะสันต้องการได้...... และผมคงไม่พูดึงจุดนั้นแล้ว เมื่อคุณตัดสินผมว่าไร้เหตุ ไร้ที่มา
................... ผมจะนำเอาหลักวิชาอุซูลุ้ลฟิกฮ์ หลักเดียวกับที่คุณยกมา เพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า ที่ผมหยิบยกมา มีที่มาจากหลักวิชาอุซูลุ้ลฟิกฮ์
หลักที่ว่านั้นปรากฎอยู่ในหนังสืออุซู้ลฯทุกเล่ม ผมขอนำลิงก์ที่กล่าวถึงหลักนั้น ดังนี้
http://www.egyig.com/Public/articles/beliefs/11/09811490.shtml
ซึ่งตรงนั้นกล่าวถึงหุก่มของมุตลักไว้ ดังนี้
أ- حكم المطلق والمقيد
1- المطلق/ أنه يجري علي إطلاقه فلا يجوز تقييده بأي قيد إلا إذا قام الدليل علي التقييد وتكون دلالته علي معناه قطعية ويثبت الحكم لمدلوله.
مثل قوله تعالي في كفارة الظهار (وَالَّذِينَ يُظَاهِرُونَ مِن نِّسَائِهِمْ ثُمَّ يَعُودُونَ لِمَا قَالُوا فَتَحْرِيرُ رَقَبَةٍ مِّن قَبْلِ أَن يَتَمَاسَّا) فكلمة ( رقبة ) مطلقة من كل قيد.
كذلك قوله تعالي (وَالَّذِينَ يُتَوَفَّوْنَ مِنكُمْ وَيَذَرُونَ أَزْوَاجاً يَتَرَبَّصْنَ) كلمة ( أزواجاً ) مطلقة من كل قيد كالدخول مثلاً.
" หุก่มของ มุตลัก(คำสั่งแบบลอยๆไร้เงื่อนไข) และ มุกอยยัด(คำสั่งแบบมีเงื่อนไข) มุตลัก นั้นแท้จริงให้ดำเนินตามการไร้เงื่อนไขของมัน ไม่อนุญาตให้วางเงื่อนไขใดๆแก่มัน เว้นแต่จะมีหลักฐานระบุถึงการวางเงื่่อนไข การบ่งชี้ความหมายของมุตลักนั้นเป็นสิ่งเชื่อมั่นได้อย่างมั่นใจ และหุก่มจะเกิดกับสิ่งที่มันบ่งชี้ เช่นพระดำรัสของอัลลอฮ์ซ.บ.เกี่ยวกับค่าปรับการซิฮ๊าร(การเปรียบภรรยาเหมือนหลังมารดา ซึ่งเป็นคำหย่าของอาหรับยุคก่อนอิสลามและถูกยกเลิกด้วยหลักอิสลาม ที่มีความหมายว่า) และบรรรดาผู้เปรียบภรรยาของพวกเขาเหมือนหลังของมารดา จากนั้นพวกเขาจะคืนคำที่พวกเขาเคยกล่าวไว้ ก็ให้ปล่อยทาสหนึ่งคน ก่อนที่ทั้งสองจะสัมผัสกัน คำว่า ทาส ถูกกล่าวโดยไร้เงื่อนไขใดๆ(จึงรวมความถึงทาสทั่วๆไป) และเช่นเดียวกัน พระดำรัสของอัลลอฮ์ซ.บ.(ที่มีความหมายว่า) และบรรดาผู้เสียชีวิตจากพวกเจ้า และทิ้งภรรยาไว้ ให้พวกนางรอคอย... คำว่า ภรรยา ถูกกล่าวโดยไร้เงื่อนไขใดๆ เช่น เงื่อนไขว่า (ที่มีการ)ร่วมหลับนอน(กันแล้ว) เป็นต้น(จึงรวมความถึงภรรยาทุกคนที่สามีตาย)
................... จากหลักตรงนี้ ชี้ชัดว่า เมื่อคำสั่งมิได้ระบุเงื่อนไขใดๆ ให้ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นโดยไม่เว้น เพราะคำสั่งนั้นมิได้ระบุการเว้นด้วยเงื่อนไขใดๆ ก็จำเป็นต้องให้เป็นไปตามเป้าหมายของคำสั่งนั้น
................... เช่น การเอี๊ยะติกาฟ หากผู้หนึ่ง เลือกไปเอี๊ยะติกาฟเฉพาะวันพุธ เท่านั้น ก็ถือว่าปฏิบัติได้ เพราะการไปวันพุธ ถือว่าอยู่ภายใต้คำสั่งให้ไปเอี๊ยะติกาฟ โดยมิได้ระบุเงื่อนไขใดๆไว้ หากจะบอกว่า ห้ามไปเจาะจงวันพุธ คำสั่งห้ามนั้นจะไร้น้ำหนักหากไม่มีหลักฐานระบุเงื่อนไขว่า "นอกจากวันพูธ" เป็นต้น ดังนั้นการอ่านยาซีนโดยเจาะจงเลือกคืนวันศุกร์ จึงไม่เป็นที่ต้องห้ามแต่อย่างใด เพราะไม่มีหลักฐานระบุเงื่อนไขห้ามไว้
................... คุณอะสันครับ ใจเย็นๆครับ ความโกรธมักจะนำพาสู่การทำสิ่งไม่ถูกต้อง ใจเย็นๆ |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 9:06 am ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | ถ้าเช่นนั้นผมคงยังไม่สามารถหาหลักฐานที่คุณอะสันต้องการได้...... และผมคงไม่พูดึงจุดนั้นแล้ว เมื่อคุณตัดสินผมว่าไร้เหตุ ไร้ที่มา
................... ผมจะนำเอาหลักวิชาอุซูลุ้ลฟิกฮ์ หลักเดียวกับที่คุณยกมา เพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า ที่ผมหยิบยกมา มีที่มาจากหลักวิชาอุซูลุ้ลฟิกฮ์
หลักที่ว่านั้นปรากฎอยู่ในหนังสืออุซู้ลฯทุกเล่ม ผมขอนำลิงก์ที่กล่าวถึงหลักนั้น ดังนี้
http://www.egyig.com/Public/articles/beliefs/11/09811490.shtml
ซึ่งตรงนั้นกล่าวถึงหุก่มของมุตลักไว้ ดังนี้
أ- حكم المطلق والمقيد 1- المطلق/ أنه يجري علي إطلاقه فلا يجوز تقييده بأي قيد إلا إذا قام الدليل علي التقييد وتكون دلالته علي معناه قطعية ويثبت الحكم لمدلوله.
مثل قوله تعالي في كفارة الظهار (وَالَّذِينَ يُظَاهِرُونَ مِن نِّسَائِهِمْ ثُمَّ يَعُودُونَ لِمَا قَالُوا فَتَحْرِيرُ رَقَبَةٍ مِّن قَبْلِ أَن يَتَمَاسَّا) فكلمة ( رقبة ) مطلقة من كل قيد.
كذلك قوله تعالي (وَالَّذِينَ يُتَوَفَّوْنَ مِنكُمْ وَيَذَرُونَ أَزْوَاجاً يَتَرَبَّصْنَ) كلمة ( أزواجاً ) مطلقة من كل قيد كالدخول مثلاً.
" หุก่มของ มุตลัก(คำสั่งแบบลอยๆไร้เงื่อนไข) และ มุกอยยัด(คำสั่งแบบมีเงื่อนไข) มุตลัก นั้นแท้จริงให้ดำเนินตามการไร้เงื่อนไขของมัน ไม่อนุญาตให้วางเงื่อนไขใดๆแก่มัน เว้นแต่จะมีหลักฐานระบุถึงการวางเงื่่อนไข การบ่งชี้ความหมายของมุตลักนั้นเป็นสิ่งเชื่อมั่นได้อย่างมั่นใจ และหุก่มจะเกิดกับสิ่งที่มันบ่งชี้ เช่นพระดำรัสของอัลลอฮ์ซ.บ.เกี่ยวกับค่าปรับการซิฮ๊าร(การเปรียบภรรยาเหมือนหลังมารดา ซึ่งเป็นคำหย่าของอาหรับยุคก่อนอิสลามและถูกยกเลิกด้วยหลักอิสลาม ที่มีความหมายว่า) และบรรรดาผู้เปรียบภรรยาของพวกเขาเหมือนหลังของมารดา จากนั้นพวกเขาจะคืนคำที่พวกเขาเคยกล่าวไว้ ก็ให้ปล่อยทาสหนึ่งคน ก่อนที่ทั้งสองจะสัมผัสกัน คำว่า ทาส ถูกกล่าวโดยไร้เงื่อนไขใดๆ(จึงรวมความถึงทาสทั่วๆไป) และเช่นเดียวกัน พระดำรัสของอัลลอฮ์ซ.บ.(ที่มีความหมายว่า) และบรรดาผู้เสียชีวิตจากพวกเจ้า และทิ้งภรรยาไว้ ให้พวกนางรอคอย... คำว่า ภรรยา ถูกกล่าวโดยไร้เงื่อนไขใดๆ เช่น เงื่อนไขว่า (ที่มีการ)ร่วมหลับนอน(กันแล้ว) เป็นต้น(จึงรวมความถึงภรรยาทุกคนที่สามีตาย)
................... จากหลักตรงนี้ ชี้ชัดว่า เมื่อคำสั่งมิได้ระบุเงื่อนไขใดๆ ให้ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นโดยไม่เว้น เพราะคำสั่งนั้นมิได้ระบุการเว้นด้วยเงื่อนไขใดๆ ก็จำเป็นต้องให้เป็นไปตามเป้าหมายของคำสั่งนั้น
................... เช่น การเอี๊ยะติกาฟ หากผู้หนึ่ง เลือกไปเอี๊ยะติกาฟเฉพาะวันพุธ เท่านั้น ก็ถือว่าปฏิบัติได้ เพราะการไปวันพุธ ถือว่าอยู่ภายใต้คำสั่งให้ไปเอี๊ยะติกาฟ โดยมิได้ระบุเงื่อนไขใดๆไว้ หากจะบอกว่า ห้ามไปเจาะจงวันพุธ คำสั่งห้ามนั้นจะไร้น้ำหนักหากไม่มีหลักฐานระบุเงื่อนไขว่า "นอกจากวันพูธ" เป็นต้น ดังนั้นการอ่านยาซีนโดยเจาะจงเลือกคืนวันศุกร์ จึงไม่เป็นที่ต้องห้ามแต่อย่างใด เพราะไม่มีหลักฐานระบุเงื่อนไขห้ามไว้
................... คุณอะสันครับ ใจเย็นๆครับ ความโกรธมักจะนำพาสู่การทำสิ่งไม่ถูกต้อง ใจเย็นๆ |
อ้าว..นึกว่า จะเป็นหะดิษมาอ้าง เห็นกล่าวหาว่าผมอ้างทัศนะ นาย ก. นาย ข. แล้วข้างต้นก็ไปกอ็ปมาจากเว็บไซด์ เหมือนกันแต่ก็ดีที่ ยังพอเป็นวิชาการ ความจริง ผมได้บอกแล้วว่า การปฏิบัติอิบาดะฮใดๆ เป็นประจำนั้นทำได้ ดังหะดิษทีกล่าวว่า
أحب الأعمال إلى الله أدومها وان قل "" رواه مسلم
บรรดาการงานที่เป็นที่รักยิ่งแก่อัลลอฮ คือ การงานที่ทำเป็นประจำ แม้จะเล็กน้อยก็ตาม - รายงานโดยมุสลิม
แต่การปฏิบัติอีดะฮ ที่ศาสนาบัญญัติระบุเอาไว้กว้างๆ ไม่เจาะจง วันเวลา สถานที แล้วนำมาปฏิบัติในเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่งเป็นการเฉพาะ โดยเชื่อว่า มีความประเสริฐกว่า ดีกว่าในวันอื่นๆ หรือสถานที่อื่นๆ โดยที่ศาสนบัญญัติไม่ได้ระบุไว้นั้น เป็นบิดอะฮ
ดังที่ท่านอบูชามะฮกล่าวว่า
"ولا ينبغي تخصيص العبادات بأوقات لم يخصصها بها الشرع ، بل يكون جميع أفعال البر مرسلة في جميع الأزمان ليس لبعضها على بعض فضل ، إلا ما فضله الشرع وخصه بنوع من العبادة ، فإن كان ذلك ، اختص بتلك الفضيلة تلك العبادة دون غيرها
ไม่สมควรเจาะจงอิบาดะฮ ด้วยบรรดาเวลา ซึ่ง ศาสนบัญญัติไม่ได้เฉพาะเจาะจงด้วยมัน แต่ทว่า บรรดาการกระทำความดีทั้งหมด ถูกปล่อยให้อยู่ในบรรดาเวลา โดยที่ส่วนหนึ่งไม่ได้มีความประเสริฐเหนื่ออีกส่วนหนึ่ง เว้นแต่ สิ่งที่ ศาสนบัญญัติได้ระบุความประเสริฐมันและได้เฉพาะเจาะจงมัน ด้วยชนิดอิบาดะฮ เพราะถ้าหากได้ปรากฏดังกล่าวนั้น อิบาดะฮดังกล่าวนั้นก็ได้ถูกเจาะจง ด้วยความประเสริฐดังกล่าว โดยไม่ได้เจาะจงอิบาดะฮอื่นจากมัน- الباعث لإنكارอัลบาอิษ ลิอิงการิลบิดอิ วัลหะวาดิษ หน้า 48).......
และท่านอบูชามะฮ สรุปตอนท้ายว่า
فالحاصل أن المكلف ليس له منصب التخصيص بل ذلك إلى الشارع
สรุปว่า แท้จริงมุกัลลัฟ ไม่ได้อยู่ในฐานะการจำกัด (หลักฐานที่ศาสนกล่าวไว้กว้างๆ) แต่ทว่า ดังกล่าวนั้น ต้องไปสู่ผู้บัญญัติศาสนบัญญัติ -จากหนังสือที่อ้างแล้วข้างต้น
ดังนั้นการจำกัดเฉพาะหลักฐานที่กล่าวเอาไว้กว้างๆนั้น เป็นอำนาจของผู้บัญญัติศาสนบัญญัติ ไม่ใช่คุณอับดุฮ
คุณอ้างหลักนิติศาสตร์ ผมก็อ้างหลักนิติศาสตร เช่นกันดังข้างล่าง
القاعدة في العبادات المطلقة أنه لا يجوز أن تخصص بزمان أو مكان معين ما دام الشرع لم يرد بذلك
หลักการในเรื่องอิบาดาต ที่ถูกกล่าวเอาไว้กว้างๆ นั้น แท้จริงไม่อนุญาตให้จำกัดเวลาและสถานที่ เป็นการเฉพาะตราบใดที่ศาสนบัญญัติได้ระบุมาด้วยดังกล่าวนั้น
http://www.ahlalhdeeth.com/vb/showthread.php?t=198596
อิหม่ามอิบนุดะกีกุลอีด อัชชาฟิอีย์กล่าวว่า
أن الخصوصيات بالوقت أو بالحال والهيئة والفعل المخصوص يحتاج
إلى دليل خاص يقتضي استحبابه بخصوصه
แท้จริงการเจาะจงด้วยเวลาใดๆ หรือ ด้วย โอกาส ,รูปแบบและการกระทำ ที่ถูกเฉพาะเจาะจง นั้น ต้องอาศัยหลักฐานเฉพาะ มาตัดสินการชอบให้กระทำมันด้วยการเจาะจงมัน - อะหกามอิบนุดะกีกุลอีด เล่ม 1119 บาบุเศาลาตุลญะมาอะฮ
หมายถึง การเจาะจงเวลา ,วิธีการ และการกระทำ ที่ศาสนากล่าวไว้กว้างๆนั้นจะต้องมีหลักฐานมายืนยันว่าส่งเสริมหรือสนับสนุนให้กระทำเป็นกรณีเฉพาะ
ท่านหาฟิซอิบนุหะญัร กล่าวว่า
وَالْأَصْلُ مَشْرُوعِيَّةُ الِاتِّبَاعِ ، وَالْخَصَائِصُ لَا تَثْبُتُ إِلَّا بِدَلِيلٍ
และรากฐานเกี่ยวกับสิ่งที่ถูกบัญญัตินั้น คือ การปฏิบัติตาม และการจำกัดเฉพะนั้น มันไม่ถูกรับรอง นอกจาก ด้วยหลักฐาน - ดูฟัตหุลบารีย์ เรือง بَابُ خُطْبَةِ الْإِمَامِ فِي الْكُسُوفِ
จากสิ่งที่ผมนำเสนอข้างต้น แสดงให้เห็นชัดเจนว่า การจำกัดอิบาดะฮที่ถูกกล่าวเอาไว้กว้างๆนั้น ต้องมีหลักฐานมายืนยัน ไม่ใช่คิดเอาเองตามความเชื่อของคุณอับดุฮ ซึ่งไม่ยอมทำความเข้าใจ จนผมหงุดหงิด เพราะท่านมีความรู้ก็มากเรืยนจบจากอิยิปต์ แต่ เข้าใจคำสอนแบบคิดเอง เออเองมากกว่า คุณไม่เข้าใจคำว่า "การตาม (อิตบาอฺ) คุณไม่เข้าใจคำว่า การปฏิบัติตามสุนนะฮ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:12 am ชื่อกระทู้: |
|
|
สิ่งที่ผมนำเสนอ คือหลักวิชาการ มีคำพูดนักวิชาการรองรับ ผมไม่ทำหรอกครับ การคิดเองเออเอง แม้คุณจะพยายามตัดสินผมว่าเป็นอย่างนั้นก็ตาม
...... จากตัวอย่างเรื่องการเจาะจงไปเอี๊ยะติก๊าฟในวันพุธ เป็นตัวอย่างที่ชัดเจน ว่าไม่ใช่สิ่งผิด และผมคิดว่าคุณอะสันก็คงไม่ตัดสินว่าผิดด้วยเช่นกัน
...... หากตรงนั้นไม่ผิด การเจาะจงอ่านยาซีนในวันคืนวันศุกร์ก็ไม่ใช่สิ่งผิดด้วยเหตุเดียวกัน |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:18 am ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | สิ่งที่ผมนำเสนอ คือหลักวิชาการ มีคำพูดนักวิชาการรองรับ ผมไม่ทำหรอกครับ การคิดเองเออเอง แม้คุณจะพยายามตัดสินผมว่าเป็นอย่างนั้นก็ตาม
...... จากตัวอย่างเรื่องการเจาะจงไปเอี๊ยะติก๊าฟในวันพุธ เป็นตัวอย่างที่ชัดเจน ว่าไม่ใช่สิ่งผิด และผมคิดว่าคุณอะสันก็คงไม่ตัดสินว่าผิดด้วยเช่นกัน
...... หากตรงนั้นไม่ผิด การเจาะจงอ่านยาซีนในวันคืนวันศุกร์ก็ไม่ใช่สิ่งผิดด้วยเหตุเดียวกัน |
จะให้ผมพูดสักกี่ครั้งล่ะอาจารย์อับดุฮ ผมบอกแล้วว่า การเจาะจงโดยเชื่อว่า มีความประเสริฐ ดีกว่า โดยศาสนาไม่ได้เจาะจงหรือระบุเอาไว้ คุณทำเป็นส่วนตัวของคุณ เมื่อคุณมีโอกาส โดยไม่ได้เชื่อว่า การเจาะจงแบบนี้ศาสนาส่งเสริม หรือได้บุญมากกว่า ผมไม่ได้ว่าอะไรนี่ครับ ผมบอกแล้วว่า ผมตอบคามที่คุณ fat ถาม แหม..พูดกับคุณ เหมือนพูดกับคนแก่....เรื่องมากจริงๆ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:26 am ชื่อกระทู้: |
|
|
หากสิ่งที่ผมสรุปตรงนี้ ไม่ถูกต้อง บอกผมด้วยนะครับ
........... คุณอะสันยอมรับว่า การเจาะจงอ่านยาซีนในคืนวันศุกร์ไม่ผิด นอกจาก เชื่อว่า ได้รับผลบุญมากกว่าเวลาอื่น หรือดีกว่า หรืออ่านต้นอื่นไม่ได้
........................ หากเป็นเช่นนี้ อัลฮำดุลิ้ลลาฮ์ ผมกับคุณ มีความเห็นตรงกัน |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:33 am ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | หากสิ่งที่ผมสรุปตรงนี้ ไม่ถูกต้อง บอกผมด้วยนะครับ
........... คุณอะสันยอมรับว่า การเจาะจงอ่านยาซีนในคืนวันศุกร์ไม่ผิด นอกจาก เชื่อว่า ได้รับผลบุญมากกว่าเวลาอื่น หรือดีกว่า หรืออ่านต้นอื่นไม่ได้
........................ หากเป็นเช่นนี้ อัลฮำดุลิ้ลลาฮ์ ผมกับคุณ มีความเห็นตรงกัน |
ก็ผมบอกแต่ต้นแล้ว เพราะคุณ fat แกถาม ตามที่พบเห็นในปัญจุบัน เขาอ่านซูเราะฮยาสีนในค่ำวันศุกร์ เพราะบางคนเชื่อว่าวิญญาปู่ย่าตายยายจะกลับบ้าน อะไรทำนองนี้ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:45 am ชื่อกระทู้: |
|
|
เรื่อง ความประเสริฐของซูเราะฮ์หนึ่ง เรื่องการเยี่ยมเยียนของบรรดาวิญญาณที่นั่นที่นี่ เป็นสิ่งเร้นลับ เราเชื่อมั่นได้ครับ หากมีหลักฐานแข็งแรงรองรับ
......... หากไม่มีเลย ถือว่า ห้ามเชื่อ
........ หากมีบ้างแต่อ่อนแอ ก็ต้องละเว้นจากการเชื่อมั่นเช่นนั้น(แต่ผมมิได้หมายถึง ห้ามปฏิบัติ แต่ห้ามเชื่อมั่นว่า มันมาจากท่านนบีซ.ล. หรือ มันประเสริฐกว่า หรือมีวิญญาณมาจริงๆ ฯลฯ) |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:50 am ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | เรื่อง ความประเสริฐของซูเราะฮ์หนึ่ง เรื่องการเยี่ยมเยียนของบรรดาวิญญาณที่นั่นที่นี่ เป็นสิ่งเร้นลับ เราเชื่อมั่นได้ครับ หากมีหลักฐานแข็งแรงรองรับ
......... หากไม่มีเลย ถือว่า ห้ามเชื่อ
........ หากมีบ้างแต่อ่อนแอ ก็ต้องละเว้นจากการเชื่อมั่นเช่นนั้น(แต่ผมมิได้หมายถึง ห้ามปฏิบัติ แต่ห้ามเชื่อมั่นว่า มันมาจากท่านนบีซ.ล. หรือ มันประเสริฐกว่า หรือมีวิญญาณมาจริงๆ ฯลฯ) |
........
ก็นั้นซิครับ ถ้ามีหลักฐานเศาะเฮียะ ใครล่ะไม่เชื่อ เฮ้อ...พูดอีกก็ถูกอีก แหละท่าน _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:58 am ชื่อกระทู้: |
|
|
ขอแก้ตัวหน่อยครับ จากที่คุณอะสันกล่าวไว้ว่า (แหม..พูดกับคุณ เหมือนพูดกับคนแก่....เรื่องมากจริงๆ)
......... ผมว่า ผมหนุ่มกว่าหลายปี ดูที่รูปก็รู้ชัดแล้ว |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 12:37 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | ขอแก้ตัวหน่อยครับ จากที่คุณอะสันกล่าวไว้ว่า (แหม..พูดกับคุณ เหมือนพูดกับคนแก่....เรื่องมากจริงๆ)
......... ผมว่า ผมหนุ่มกว่าหลายปี ดูที่รูปก็รู้ชัดแล้ว |
ครับ ผมมีรูปให้ดู มีชื่อให้อ่าน ทุกอย่างที่ผมโพสต์ ผมรับผิดชอบ ผมไม่กลัวจะเสียเครดิต บางคนใช้นามแฝง โดยคิดว่า ฉันผิด ฉันถูก ไม่มีใครรู้ จะว่าใคร จะด่าใคร ก็ไม่มีใครทราบว่าใคร ดีจริงๆ ผมชมเชย อ.อารีฟีน ที่กล้าเปิดเผยตัวเองสู่สาธารณะ เพราะเราเผยแพร่ศาสนา เราพูดความจริง จะกลัวทำไมว่า คนรู้จักใช่ไหมครับ หรือกลัวว่า เมื่อเปิดเผยชื่อเสียงเรียงนาม ถ้ามีทัศนะบังเอิญ ตรงกับผม คนเขาจะหาว่าเป็นพวกคณะใหม่ เขาไม่นับถือ เขาไม่ให้เป็นอิหม่าม มีบางคนจบนอกมา เป็นเตมีย์ใบ้ ไม่กล้าพูดความจริง _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 1:31 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
ดูคุณวกกลับมาวิจารณ์ผมอีกและ รูปที่ผมว่า คือรูปการ์ตูนประจำตัวของคุณกับผม ผมบอกแล้ว ผมไม่เคยคิดจะล่วงรู้ตัวตนของคุณ ชื่อจริงหรือหน้าตา ผมก็ไม่เคยค้นหา |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 1:50 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | ดูคุณวกกลับมาวิจารณ์ผมอีกและ รูปที่ผมว่า คือรูปการ์ตูนประจำตัวของคุณกับผม ผมบอกแล้ว ผมไม่เคยคิดจะล่วงรู้ตัวตนของคุณ ชื่อจริงหรือหน้าตา ผมก็ไม่เคยค้นหา |
ขอมาอัฟครับ ความจริงส่วนใหญ่ในเน็ต เขารู้ว่าผมคือใคร _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
|