ยินดีต้อนรับสู่ Moradokislam.org!
Homeหน้าแรก     Forumsกระดานข่าว     Your Accountสำหรับสมาชิก     Downloadsดาวน์โหลด     Submit Newsเผยแพร่ข่าวสาร     Topicsหัวข้อเรื่อง     Select Thai LangaugeThai Langauge   
อนุรักษ์มรดกอิสลาม :: ดูกระทู้ - การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์
อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก อนุรักษ์มรดกอิสลาม  
  เพื่อการอนุรักษ์มรดกอิสลาม      คำถามถามบ่อยของกระดานข่าว      ค้นหา      รายนามสมาชิก  
  · เข้าระบบ ข้อมูลส่วนตัว · เข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณ · กลุ่มผู้ใช้งาน  
การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์
ไปที่หน้า ก่อนนี้  1, 2, 3  ถัดไป
 
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> หลักความเชื่อ
ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป  
ผู้ส่ง ข้อความ
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Thu Apr 21, 2005 6:06 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อัลหัมดุลิลลาฮฺ

ผมไปดูมาแระ ที่จริงจาเอาคำตอบของสภาที่มะดีนะฮฺมาจาดีกว่าหรือป่าว. อ้างอิงหนังสือ และวิชาการจากบรรดาสละฟุซซอแลห์ การที่จาทำการชี้การศาสนา ต้องรัดกุม หากว่าคนที่ไม่มีพื้นฐานความเข้าใจในอะกิดะฮ์ของบรรสลพแล้ว อาจจานำมาสู่ฟิตนะฮ์ตักฟิรกัน และสุดท้ายอยากเตือนว่าเราทั้งหมดไม่ใช่อาเลมจากไหน ล้วนแล้วแต่ เป็นผู้แสวงหาความรู้ ต้องอาศัยแนวทาง สะบีลุ้ลมุมินีนเราขาดไม่ได้ เพราะกี่มากแลวหลงด้วยกรุอาน และหะดีษ มีให้เหนกันมากมาย
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Thu Apr 21, 2005 6:10 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

คุนอาซานมาเชียงใหม่แวะมาเยี่ยม ห้องสมุดเตาหีดซอฮาบะฮฺบ้างนะครับ ทิ้งเบอร์โทรไว้ให้แล้วกัน 01 1111332

เอ่าเกือบลืม คุนอาซานน่าจาแวะไปดูหมวดวิชาหะดีษนะ ในเวบมรดกเนี่ย ผมว่าน่าจะตรวจทานก่อนออกนำเสนอ

วัสลาม
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Thu Apr 21, 2005 8:45 pm    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

salam
คุณอิลยาสครับ ขอบคุณที่คุณเข้าไปดูแล้ว แล้วผิดไหมครับ ที่ผมบอกเป็นข้อ 5 ข้อ ไม่ต้องมีใช่ไหม ไม่ต้องเอาฟัตวานักวิชาการมะดีนะฮหรอกครับ คุณตอบมาก่อน ว่า 5 ข้อที่ผมกล่าวไม่สำคัญ ไม่ต้องใช้มัน ทีนี้แหละผมจะฟัตวาคุณเอง
คุณมีห้องสมุดหลายแผนกเลย อัลหั้มดุลิ้ละฮ ดีมากครับ ช่วยอธิบายหะดิษบทนี้ให้ผมหน่อยนะคับ
من عمل عملا ليس عليه أمرنا فهورد
ขอเป็นมิตรกับคุณนะครับ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Thu Apr 21, 2005 11:25 pm    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อัสลามุอลัยกุม

1. ที่คุณว่ามาถูกคับ ละก้อดีด้วย ผมเพียงแค่อยากให้อธิบายเผื่อไว้ในเชิงวิชาการกว่านี้ แบบอ้างอิงได้ เพราะว่ามีคนที่ต้องการความจริงไม่น้อยเลยนะครับ

2. เรื่องที่ว่าอยากให้เข้าไปตรวจทานวิชาหะดีษเนี่ย หมายถึง วิชาอุลูมุ้ลหะดีษของเวปหนะครับ เช่นตอนที่ 11 และ 12 ไม่มีเจตนาลบลู่ใครนะครับ แต่ว่าคนอ่านเยอะอาจทำให้ข้อมูลคลาดเคลื่นได้

3. เออคือว่าคุณให้ผมอธิบายหะดีษนี้มันเป็นเรื่องอยากสำหรับผม เพราะผมคงไม่อาจเอื้อมอธิบายหรอกครับ เอาเปนว่า ผมจาหาที่ชะเราะห์หะดีษก่อนดีมั๊ยครับ ไม่อยากเสี่ยงเดียวอธิบายผิดจาไปกันใหญ่

วัสลาม ผมก้อขอเปนมิตรเช่นกันครับ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Fri Apr 22, 2005 1:13 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

حَدَّثَنَا يَعْقُوبُ حَدَّثَنَا اِبْرَاهِيمُ بْنُ سَعْدٍ عَنْ اَبِيهِ عَنْ الْقَاسِمِ بْنِ مُحَمَّدٍ عَنْ عَائِشَةَ رَضِيَ اللَّهُ عَنْهَا قَالَتْ قَالَ رَسُولُ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ
عَلَيْهِ وَسَلَّمَ مَنْ اَحْدَثَ فِي اَمْرِنَا هَذَا مَا لَيْسَ فِيهِ فَهُوَ رَدٌّ رَوَاهُ عَبْدُ اللَّهِ بْنُ جَعْفَرٍ الْمَخْرَمِيُّ وَعَبْدُ الْوَاحِدِ بْنُ اَبِي عَوْنٍ عَنْ سَعْدِ بْنِ اِبْرَاهِيمَ

الشرح‏whistling#8207;

قوله‏whistling#8207; ‏(‏حدثنا يعقوب‏)‏ كذا للاكثر غير منسوب، وانفرد ابن السكن بقوله‏whistling#8207; ‏"‏ يعقوب بن محمد‏"‏، ووقع نظير هذا في المغازي في ‏"‏ باب فضل من شهد بدرا ‏"‏ قال البخاري‏whistling#8207; ‏"‏ حدثنا يعقوب حدثنا ابراهيم بن سعد ‏"‏ فوقع عند ابن السكن ‏"‏ يعقوب بن محمد ‏"‏ اي الزهري، وعند الاكثر غير منسوب، لكن قال ابو ذر في روايته في المغازي ‏"‏ يعقوب بن ابراهيم اي الدورقي ‏"‏ وقد روى البخاري في الطهارة ‏"‏ عن يعقوب بن ابراهيم عن اسماعيل بن علية حدثنا ‏"‏ فنسبه ابو ذر في روايته فقال‏whistling#8207; ‏"‏ الدورقي ‏"‏ وجزم الحاكم بان يعقوب المذكور هنا هو ابن محمد كما في رواية ابن السكن، وجزم ابو احمد الحاكم وابن منده والحبال واخرون بانه يعقوب بن حميد بن كاسب، ورد ذلك البرقاني بان يعقوب بن حميد ليس من شرطه، وجوز ابو مسعود انه يعقوب بن ابراهيم بن سعد، ورد عليه بان البخاري لم يلقه فانه مات قبل ان يرحل، واجاب البرقاني عنه بجواز سقوط الواسطة وهو بعيد، والذي يترجح عندي انه الدورقي حملا لما اطلقه على ما قيده، وهذه عادة البخاري لا يهمل نسبة الراوي الا اذا ذكرها في مكان اخر فيهملها استغناء بما سبق والله اعلم‏.‏

وقد جزم ابو علي الصدفي بانه الدورقي، وكذا جزم ابو نعيم في ‏"‏ المستخرج ‏"‏ بان البخاري اخرج هذا الحديث الذي في الصلح عن يعقوب بن ابراهيم‏.‏

قوله‏whistling#8207; ‏(‏عن ابيه‏)‏ هو سعد بن ابراهيم بن عبد الرحمن بن عوف، ووقع منسوبا كذلك في مسلم وقال في روايته ‏"‏ حدثنا ابي‏"‏‏.‏

قوله‏whistling#8207; ‏(‏عن القاسم‏)‏ في رواية الاسماعيلي من طريق محمد بن خالد الواسطي عن ابراهيم بن سعد عن ابيه ان رجلا من ال ابي جهل اوصى بوصايا فيها اثرة في ماله، فذهبت الى القاسم بن محمد استشيره فقال القاسم ‏"‏ سمعت عائشة ‏"‏ فذكره‏.‏

وسياتي بيان الاثرة المذكورة في رواية المخرمي المعلقة عن العلاء بن عبد الجبار‏.‏

قوله‏whistling#8207; ‏(‏رواه عبد الله بن جعفر المخرمي‏)‏ بفتح الميم وسكون المعجمة وفتح الراء نسبة الى المسور بن مخرمة، فجعفر هو ابن عبد الرحمن بن المسور بن مخرمة، وروايته هذه وصلها مسلم من طريق ابي عامر العقدي والبخاري في ‏"‏ كتاب خلق افعال العباد ‏"‏ كلاهما عنه عن سعد بن ابراهيم ‏"‏ سالت القاسم بن محمد عن رجل له مساكن فاوصى بثلث كل مسكن منها قال‏whistling#8207; يجمع ذلك كله في مسكن واحد ‏"‏ فذكر المتن بلفظ ‏"‏ من عمل عملا ليس عليه امرنا فهو رد ‏"‏ وليس لعبد الله بن جعفر في البخاري سوى هذا الموضع‏.‏

قوله‏whistling#8207; ‏(‏وعبد الواحد بن ابي عون‏)‏ وصله الدار قطني من طريق عبد العزيز بن محمد عنه بلفظ ‏"‏ من فعل امرا ليس عليه امرنا فهو رد ‏"‏ وليس لعبد الواحد ايضا في البخاري سوى هذا الموضع، وقد رويناه في ‏"‏ كتاب السنة لابي الحسين بن حامد ‏"‏ من طريق محمد بن اسحاق عن عبد الواحد وفيه قصة قال‏whistling#8207; ‏"‏ عن سعد بن ابراهيم قال كان الفضل بن العباس بن عتبة بن ابي لهب اوصى بوصية، فجعل بعضها صدقة وبعضها ميراثا وخلط فيها، وانا يومئذ على القضاء، فما دريت كيف اقضي فيها، فصليت بجنب القاسم بن محمد فسالته فقال‏whistling#8207; اجز من ماله الثلث وصية، ورد سائر ذلك ميراثا، فان عائشة حدثتني ‏"‏ فذكره بلفظ ابراهيم بن سعد‏.‏

وفي هذه الرواية دلالة على ان قوله في رواية الاسماعيلي المتقدمة ‏"‏ من ال ابي جهل ‏"‏ وهم، وانما هو من ال ابي لهب، وعلى ان قوله في رواية مسلم ‏"‏ يجمع ذلك كله في مسكن واحد ‏"‏ هو بقية الوصية وليس هو من كلام القاسم بن محمد، لكن صرح ابو عوانة في روايته بانه كلام القاسم بن محمد، وهو مشكل جدا، فالذي اوصى بثلث كل مسكن اوصى بامر جائز اتفاقا، واما الزام القاسم بان يجمع في مسكن واحد ففيه نظر لاحتمال ان يكون بعض المساكن اغلى قيمة من بعض، لكن يحتمل ان تكون تلك المساكن متساوية فيكون الاولى ان تقع الوصية بمسكن واحد من الثلاثة، ولعله كان في الوصية شيء زائد على ذلك يوجب انكارها كما اشارت اليه رواية ابي الحسين بن حامد والله اعلم‏.‏

وقد استشكل القرطبي شارح مسلم ما استشكلته، واجاب عنه بالحمل على ما اذا اراد احد الفريقين الفدية، او الموصى لهم القسمة وتمييز حقه، وكانت المساكن بحيث يضم بعضها الى بعض في القسمة، فحينئذ تقوم المساكن قيمة التعديل ويجمع نصيب الموصى لهم في موضع واحد ويبقى نصيب الورثة فيما عدا ذلك والله اعلم‏.‏

وهذا الحديث معدود من اصول الاسلام وقاعدة من قواعده، فان معناه‏whistling#8207; من اخترع في الدين ما لا يشهد له اصل من اصوله فلا يلتفت اليه‏.‏

قال النووي‏whistling#8207; هذا الحديث مما ينبغي ان يعتنى بحفظه واستعماله في ابطال المنكرات واشاعة الاستدلال به كذلك‏.‏

وقال الطرقي‏whistling#8207; هذا الحديث يصلح ان يسمى نصف ادلة الشرع، لان الدليل يتركب من مقدمتين، والمطلوب بالدليل اما اثبات الحكم او نفيه، وهذا الحديث مقدمة كبرى في اثبات كل حكم شرعي ونفيه، لان منطوقه مقدمة كلية في كل دليل ناف لحكم، مثل ان يقال في الوضوء بماء نجس‏whistling#8207; هذا ليس من امر الشرع، وكل ما كان كذلك فهو مردود، فهذا العمل مردود‏.‏

فالمقدمة الثانية ثابتة بهذا الحديث، وانما يقع النزاع في الاولى‏.‏

ومفهومه ان من عمل عملا عليه امر الشرع فهو صحيح، مثل ان يقال في الوضوء بالنية‏whistling#8207; هذا عليه امر الشرع، وكل ما كان عليه امر الشرع فهو صحيح‏.‏

فالمقدمة الثانية ثابتة بهذا الحديث والاولى فيها النزاع، فلو اتفق ان يوجد حديث يكون مقدمة اولى في اثبات كل حكم شرعي ونفيه لاستقل الحديثان بجميع ادلة الشرع، لكن هذا الثاني لا يوجد، فاذا حديث الباب نصف ادلة الشرع والله اعلم‏.‏

وقوله‏whistling#8207; ‏"‏ رد ‏"‏ معناه مردود من اطلاق المصدر على اسم المفعول، مثل خلق ومخلوق ونسخ ومنسوخ، وكانه قال‏whistling#8207; فهو باطل غير معتد به، واللفظ الثاني وهو قوله‏whistling#8207; ‏"‏ من عمل ‏"‏ اعم من اللفظ الاول وهو قوله‏whistling#8207; ‏"‏ من احدث ‏"‏ فيحتج به في ابطال جميع العقود المنهية وعدم وجود ثمراتها المرتبة عليها، وفيه رد المحدثات وان النهي يقتضي الفساد، لان المنهيات كلها ليست من امر الدين فيجب ردها، ويستفاد منه ان حكم الحاكم لا يغير ما في باطن الامر لقوله‏whistling#8207; ‏"‏ ليس عليه امرنا ‏"‏ والمراد به امر الدين، وفيه ان الصلح الفاسد منتقض، والماخوذ عليه مستحق الرد‏.‏
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Fri Apr 22, 2005 1:15 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

ใช้หะดีษนี้ได้มั๊ยครับความหมายน่าจะเหมือนกันนะครับ เอามาจากฟัตหุลบารีย ของ อิบนิ หาญัร ถ้าผิดยังงัยช่วยเตือนด้วยนะครับ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Fri Apr 22, 2005 6:48 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

salam
ขอบคุณครับ คุณอิลยาส
ผมดีใจที่พี่น้องของผมมีความเข้าใจในอัลหะดิษ คือ ผมไม่ได้ดูถูกคณะตับลีฆหรอกครับ เพราะงานตับลีฆเป็นงานศาสนา ที่มีประโยชน์มากมาย ที่ผมพูดถึงแนวทางตับลีฆ ที่คุณเข้าไปอ่าน เพราะต้องการ การเผยแผ่นั้น เป็นไปตามเจตนารมณ์ของท่านนบี ศอลฯ มากกว่า คือ
1. นำคำสอนจากอัลกุรอ่านและอัสสุนนะฮ ไปเผยแผ่
2. ต้องเข้าใจในสุนนะตุ้ลลอฮ ว่า อัลลอฮสร้างเรามาเป็นมนุษย์ กฏแห่งความเป็นมนุษย์ที่เกี่ยวกับโลกนี้เราต้องทำอย่างไร
การตับลีฆมีหลายวิธี การตับลีฆให้มีประสิทธิภาพ เราต้องเรียนรู้และรับฟังข้อตำหนิบ้างเพื่อนำไปพัฒนา ไมใช่กลุ่มเราเตะไม่ได้ มุสลิมเป็นพี่น้องกันครับ เราไปสู่จุดหมายเดียวกัน คือ สู่ความเมตตาของอัลลอฮ
ผมดีใจที่คุณเป็นคนมีเหตุผล และมีนำใจแห่งควมเป็นมิตร
ด้วยสล่ามและดุอา
พี่น้องของคุณ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Fri Apr 22, 2005 2:10 pm    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

สลามมุอลัยกุม

เออคือ มันเปนแบบนี้คุณอาซาน ส่วนตัวผมไม่เหนด้วยกับญามะอะฮฺตับลีฆ ยิ่
งเรื่องหลักการด้วยแล้วไม่ต้องอธิบาย แต่หากว่าจุดสำคัญของความเสียหายที่เราจาเอาอันดับแรก เปนเรื่องหลักความเชื่อที่ไม่ถูกต้องไม่ดีกว่าหรอ ทีนี้เรื่องอื่นจาเข้าใจได้ง่ายขึ้น เพราะว่าญามะอะฮฺเค้าก้ออ้างอิงว่าเค้าก้อซุนนะฮฺเหมือนกัน บางกลุ่มเรื่องฟิกฮฺนี้เชี๊ยะๆ แต่ทั้งหมดก้ออะกีดะฮฺมีปัญหา เอาหละที่นี้แหละคนทั่วไปไม่ได้มองเรื่องอะกีดะฮฺสิ เพราะไม่รู้เรื่อง ที่นี้ก้อเคลียล์ไม่จบ ฝากคุณ อาซานช่วยสานหน่อยนะครับ

วัสลาม
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Fri Apr 22, 2005 4:45 pm    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

salam
คุณ อิลยาส ครับ เรื่องอะกีดะฮ เป็นเรื่องที่เราให้ความสำคัญอันดับหนึ่งอยู่แล้ว ถ้าคุณลงมาทางใต้
ทุกวันอาทิตย์ ที่ศูนย์อิสลามศึกษา สถานี 2 อ.หาดใหญ่ จ. สงขลา ผมจะบรรยายศาสนาอยู่ทีนั่น
เวลา อ. มุสตอฟา อ. วิทยา อ. มุริด อ.ยะหยา อ. ชากีรีน ลงมาทางใต้ จะมาแวะเยี่ยม และร่วมบรรยายเสมอ โดย เฉพาะ อ.มุสตอฟา และ อะ มุรีด ก็เพิ่งไปเยียม เมื่อปลายเดือนมีนานี้เอง
คุณรู้ไหม ว่า อะกีดะฮยุคสะลัฟ ที่เราสอน เราถูกประนามว่าเป็น พวกวะฮบีย์
ไม่รู้คุณด้วยหรือเปล่า ขอโทษที่พูดตรงไปตรงมา
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Fri Apr 22, 2005 8:41 pm    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

คำว่าไม่รู้คณด้วยหรือเปล่า" ผมหยอกเล่นน่ะคับ มาอัฟด้วย
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Sat Apr 23, 2005 1:17 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

ถึงขั้นประนามเลยหรอ เคลียลกันไปแร้วนี่ อาจาร์ยอสมาแอลลุตฟี่ เค้าเคลียลสนามให้แร้วนี่คับ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sun Apr 24, 2005 12:12 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

แต่ก็ตอนนี้ ดีขึ้นนะ เพลาๆลง คนให้ความสนใจมากขึ้น ครับ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
อิลยาส
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005
ตอบ: 279


ตอบตอบ: Sun Apr 24, 2005 12:44 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อัลหัมดุลิลลาฮฺ ขอให้เข้าใจกันมากขึ้นนะครับ และทีมงานอดทนกันด้วย อย่ามันปากไปรับคำท้าเอามันส์นะครับ ฟิตนะฮฺทั้งนั้น
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sun Apr 24, 2005 6:23 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

salam
ขอบคุณครับที่เตือน คงจะไมใครกล้าท้าหรอกครับ คนทีกุมด้ามมีด กับ คนที่จะมากุมปลายมีด อันใหน อันตรายกว่ากัน ในยุค 20 ปีที่แล้ว มีครับเรื่องอย่างนี้ แต่ตอนนี้ไม่มี เขาบอกว่า" อย่าไปพูดกับมันเลย พวก คณะใหม่นะ พูดก็ไม่ชนะมันหรอก" เขาพูดอย่างนี้มากกว่าครับ
คุณว่าแปลกไหม ไอ้เราเอาของดั้งเดิมในยุคสลัฟมาสอน กลับถูกเรียก ว่า คณะใหม่ เอาของเก่าแท้ๆ ฮะๆๆๆ หน้าหัวเราะอยู่เหมือนกันนะ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sun Apr 24, 2005 6:44 am    ชื่อกระทู้: Re: การเรียกร้องรูปแบบของดะอฺวะห์ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

عن أبي ذر رضي الله عنه قال : أمرني رسول الله صلى الله عليه وسلم بسبع … وفيه : [أمرني أن أقول الحق وإن كان مُرّاً وأمرني أن لا أخاف في الله لومة لائم…] الحديث رواه أحمد برقم 21415
รายงานจากอบีซัรริน ร.ฎ ว่า ท่านรซูลุ้ลลอฮ ศอลฯ ได้สั่งแก่ข้าพเจ้าปฏิบัติ เจ็ดประการ...และในเจ็ดประการนั้นคือ สั่งให้ข้าพเจ้าพูดความจริง แม้ว่ามันจะขมขื่นก็ตาม และสั่งข้าพเจ้าว่า อย่าให้ข้าพเจ้ากลัวการกล่าวหาของผู้คน ในเรื่องของอัลลอฮ -จนจบหะดิษรายงานโดยอะหมัด หะดิษหมายเลข 21415
นี่คือสิ่งที่ทำให้เรายืดหยัดอยู่ได้ ครับ คุณอิลยาส
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
แสดงการตอบก่อนนี้:   
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> หลักความเชื่อ ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
ไปที่หน้า ก่อนนี้  1, 2, 3  ถัดไป
หน้า 2 จากทั้งหมด 3

 
ไปยัง:  
คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ใหม่ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลบการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลงคะแนนในแบบสำรวจในกระดานนี้
คุณ สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


Powered by phpBB ฉ 2001, 2002 phpBB Group







ที่ตั้งมูลนิธิ


สำนักงาน มูลนิธิ อนุรักษ์มรดกอิสลาม
เลขที่ 27/5 หมู่ที่ 2 ถนนเลียบวารี แขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพฯ
ติดต่อ : 02-956-9860, 02-956-9958
E-mail : moradokislam@hotmail.com
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ในการนำไปเผยแพร่ในหนทางที่ถูกต้อง และควรระบุแหล่งที่มาของข้อมูล

PHP-Nuke Copyright © 2005 by Francisco Burzi. This is free software, and you may redistribute it under the GPL. PHP-Nuke comes with absolutely no warranty, for details, see the license.
การสร้างหน้าเอกสาร: 0.20 วินาที
IPBNukeRed theme by HOLBROOKau and
PHP-Nuke Thailand ©2004
เธ‚เธญเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธตเธซเธ™เนˆเธญเธขเธ„เธฃเธฑเธšเธชเธกเธฑเธ„เธฃเธ›เธธเนŠเธšเธฃเธฑเธšเธ›เธฑเนŠเธšเน„เธกเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธเธฒเธ เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เน‚เธšเธ™เธฑเธชเน„เธ”เน‰เน€เธ‡เธดเธ™เธˆเธฃเธดเธ‡ slot938 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaicasinobin เนเธˆเธเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธšเธฒเธ„เธฒเธฃเนˆเธฒ เธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ JQK41 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaibet55 kubet เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เนเธ—เธ‡เธšเธญเธฅ เธ‹เธญเธ„เน€เธเธญเธฃเนŒเธฅเธตเธ เธ„เธฐเนเธ™เธ™เธŸเธธเธ•เธšเธญเธฅ เน€เธงเน‡เธšเธžเธ™เธฑเธ™เธญเธฑเธ™เธ”เธฑเธš1 HUC99 เน€เธงเน‡เธšเธ•เธฃเธ‡ เน„เธกเนˆเธœเนˆเธฒเธ™เน€เธญเน€เธขเนˆเธ™เธ•เนŒ