ยินดีต้อนรับสู่ Moradokislam.org!
Homeหน้าแรก     Forumsกระดานข่าว     Your Accountสำหรับสมาชิก     Downloadsดาวน์โหลด     Submit Newsเผยแพร่ข่าวสาร     Topicsหัวข้อเรื่อง     Select Thai LangaugeThai Langauge   
อนุรักษ์มรดกอิสลาม :: ดูกระทู้ - นี่หรือพี่น้องมสลิม
อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก อนุรักษ์มรดกอิสลาม  
  เพื่อการอนุรักษ์มรดกอิสลาม      คำถามถามบ่อยของกระดานข่าว      ค้นหา      รายนามสมาชิก  
  · เข้าระบบ ข้อมูลส่วนตัว · เข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณ · กลุ่มผู้ใช้งาน  
นี่หรือพี่น้องมสลิม
ไปที่หน้า ก่อนนี้  1, 2, 3, 4, 5  ถัดไป
 
ตั้งกระทู้ใหม่   กระทู้นี้ถูกปิดคุณไม่สามารถแก้ไขคำตอบหรือตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> ปัญหาศาสนา
ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป  
ผู้ส่ง ข้อความ
Konyakroo
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 16/01/2006
ตอบ: 244


ตอบตอบ: Sat Apr 01, 2006 3:44 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

Konyakroo บันทึก:
โทษที..พอดี ยางลมรถมันอ่อนไปนิด...ภาษาเลยเพี้ยน...


คุณเสือสมิงดำ


จากอายะข้างล่าง
ที่คุณยกมาคุณยังไม่ตอบผมเลย

وَأَنَّ هَـذَا صِرَاطِي مُسْتَقِيماً فَاتَّبِعُوهُ وَلاَ تَتَّبِعُواْ السُّبُلَ فَتَفَرَّقَ بِكُمْ عَن سَبِيلِهِ ذَلِكُمْ وَصَّاكُم بِهِ لَعَلَّكُمْ تَتَّقُونَ

[6.153] และแท้จริงนี้คือทางของข้าอันเที่ยงตรงพวกเจ้าจงปฏิบัติตามมันเถิด และอย่าปฏิบัติตามหลาย ๆ ทาง เพราะมันจะทำให้พวกเจ้าแยกออกไปจากทางของพระองค์ นั่นแหละที่พระองค์ได้สั่งเสียมันไว้แก่พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะยำเกรง[/font">
ขอถามคุณเสือสมิงดำเป็นข้อๆ

[b][font=Symbol]..สิ่งที่ยกมานี้มันตรงกับพระประสงค์ของอัลลอฮ์(ซบ)ที่ดำรัสไว้ในอัลกรุอานกับสิ่งที่คุณยัดเยียดหรือกล่าวประนาฌให้กับฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นแบบนั้นโดยเฉพาะในประชาชาติยุคของเรานี้..
..
----ตอบมาด้วยหลักฐานและที่คุณยกมาครับ...ห้ามเอาความคิดตัวเองมาตัดสินครับ

2.คุณเข้าใจเนื้อหาหมดอย่างท่องแท้ในความหมายของอายะที่คุณยกมา ทั้งหมดหรือไม่

-----ตอบมาด้วยอย่าเบี่ยงเบนและเฉไฉอีกละ...

3.ในโองการนี้ลงมาเพื่อมุ่งสำทับหรือโจมตีฝ่ายที่ต่างทัศนะคือพวกเรา หรือผู้ที่ยืนอยู่บนแนวทางของผู้มีความรู้เช่น อีหม่ามทั้ง4 ..


ถ้าตอบไม่ได้ก็ขอให้ยุติการก่อกวนที่มุ่งแต่จะ[/font">
สร้างความแตกแยกที่ทัศนะของคุณถนัดนักครับ....ครับ [/font][/B][/font] wassalam
[/font][/quote]
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sat Apr 01, 2006 6:17 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้างจากบังอะสัน

น้องบ่าวครับ คำว่า “แท้จริง บรรดามัซฮับทั้งสี่ที่ได้ถูกบันทึกหลักการไว้เรียบร้อยแล้ว” อยากจะถามว่า ได้บันทึกไว้ในอัลกุรอ่าน หรือ อัสสุนนะฮ หรือเปล่า แล้วสิ่งที่บันทึกที่ว่า วาญิบจะต้องสังกัดหรือเปล่า ?

วิจารณ์

บังอะสันต้องเข้าใจก่อนนะครับว่า มัซฮับทั้งสี่นั้น มันเกี่ยวกับแนวทางของฟิกห์เป็นการเฉพาะเท่านั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ หลักการฟิกห์ในอัลกุรอานและซุนนะฮ์นั้น มัซฮับทั้งสี่ได้ประมวลการวินิจฉัยได้ เกือบหมด หรือหมดทุกประเด็นแล้ว หากวะฮาบีย์วินิจฉัยเรื่องใดในเชิงฟิกห์ ก็ไม่พ้นคำกล่าวของมัซฮับทั้งสี่ เช่นเรื่อง เนื้อกุรบานบริจากให้กาเฟรซิมมีย์ได้หรือไม่ ? วะฮาบีย์กล่าวว่า อนุญาติ มันก็ไปตรงกับมัซฮับหัมบาลีย์ โดยที่ท่านอิบนุก๊อดดามะฮ์ได้กล่าวไว้ในหนังสือ มุฆนีย์ของท่านแล้วเป็นต้น แต่ก็มีบางประเด็นที่วะฮาบีย์ไม่ตรงกับมัซฮับทั้งสี่ นั่นก็ไม่ใช่หมายความว่า มัซฮับทั้งสี่ไม่ได้ประมวลมันเอาไว้นะครับ แต่ว่า วะฮาบีย์แวกแนวต่างหากล่ะครับ

ส่วนคำถามของบังที่ว่า ในอัลกุรอานและหะดิษได้บันทึกไว้หรือเปล่าว่าวายิบให้สังกัดมัซฮับ? อันนี้ ผมก็ตอบไปแล้วนี่ครับ บังอะสันไม่อ่านให้ครบถ้วนเองนะครับ แล้ววนมาอีก และหากบังอะสันกลับไปทบทวนในการสนทนาของเราเรื่องมัซฮับนั้น เราก็ตอบไว้และอธิบายอย่างชัดเจนแล้ว แต่ผมจะตอบสั้นอีกครั้ง การสังกัดมัซฮับทั้ง 4 นั้นไม่วายิบต้องสังกัดเป็นมัซฮับเป็นการเฉพาะ นี่คือทัศนะที่มีน้ำหนัก แต่อนุญาติ (ยาอิซฺ)ให้สังกัดมัซฮับเป็นการเฉพาะสำหรับผู้ที่สมัครใจ โดยเขาต้องไม่เชื่อว่า วายิบต้องสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอีย์ หรือวายิบต้องสังกัดหัมบาลีย์ หรือเขาต้องไม่เชื่อว่า มัซฮับชาฟิอีย์เท่านั้นที่ถูก หรือมัซฮับหะนะฟีย์เท่านั้นที่ถูกต้อง นี่คือคุณลักษณะของผู้ที่มีมัซฮับ หากผู้ที่สังกัดมัซฮับเชื่อเป็นอย่างอื่น เช่นกล่าวว่า ผู้หญิงมัซฮับหะนะฟีย์ แต่งงานกับ ชายมัซฮับชาฟิอีย์ไม่ได้นั้น เป็นคำพูดและความเชื่อที่ผิดอย่างรุนแรง ซึ่งไม่ใช่สาเหตุเพราะมัซฮับ แต่เป็นสาเหตุจากผู้นำมาใช้ผิดๆโดยมีการตะอัศศุบเท่านั้นเอง และการตะอัศศุบนั้น ไม่ใช่เพียงแค่มัซฮับเท่านั้น แต่มันรวมไปถึง ตะอัศศุบ"มัสอะละฮ์ใดมัซอะละฮ์หนึ่ง" ด้วยเช่นกัน คือ หากมัสอะละฮ์หนึ่งที่อยู่ในการวินิจฉัยหรืออยู่บนหลักฐานที่คาดว่าถูก (الظنى ) ก็ไม่อนุญาติให้เชื่อว่า แนวของตนเท่านั้นที่ถูกส่วนแนวทางอื่นนั้นผิด เนื่องจากเราไม่ทราบแน่ว่า ทัศนะใดเป็นทัศนะที่ถูกต้องที่สุดตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูลของพระองค์ แต่สามารถปฏิบัติได้ เพราะมันอยู่บนหลักฐานของศาสนา ส่วนจะผิดจะถูกนั้น อัลเลาะฮ์ทรงผ่อนปรนและประทานอภัยให้

แต่สำหรับผู้ที่เชื่อว่า ประเด็นวินิจฉัยที่อยู่บนหลักฐานที่คาดว่าถูก (الظنى ) คือแนวทางของฉันฝ่ายเดียวตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูล โดยที่ทัศนะนั้นผิด แบบนี้ถือว่า เขาได้อยู่บนแนวทางที่ผิดและบิดอะอ์อย่างชัดเจน เพราะเขาอาจจะโกหกต่ออัลเลาะฮ์และร่อซูลของพระองค์ เนื่องจากไม่มีวาฮีมาบอกอีกแล้วว่า ปัญหานี้ มัสอะละฮ์ ถูกต้องตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูลของพระองค์ ดังนั้น ส่วนมากหรือเกือบทั้งหมดจากปัญหาประเด็นคิลาฟียะฮ์ ที่มีการขัดแย้งในเรื่องวินิจฉัย คือประเด็นทางด้านฟิกห์ที่อยู่บนหลักฐานที่ (الظنى ) ทั้งนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงไม่มีอิมามทั้งสี่ท่านใด ที่ประกาศว่าทัศนะของตนเองนั้นถูกต้องไปทั้งหมด เนื่องจากทุกๆคนย่อมมีผิดและถูก

ดังนั้น บรรดาปัญหาคิลาฟียะฮ์ระหว่างซุนนะฮ์วะฮาบีย์ กับ อะฮ์ลิสซุนนะฮ์ วัลญะมาอะฮ์มัซฮับทั้งสี่ นั้น อยู่บนหลักฐานที่ (الظنى ) ทั้งหมด หากมีผู้ใดเชื่อว่า แนวทางของตนเท่านั้นที่ถูกต้องตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูล เขาย่อมโกหกต่ออัลเลาะฮ์และร่อซูล และกระทำหรือมีความเชื่อของพวกบิดอะฮ์

อ้างจากบังอะสัน

เพราะแนวคิดหรือ มัซฮับ ไม่ใช่สิ่งที่ได้รับสิทธิพิเศษจากอัลลอฮและรอซูล ว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องทั้งหมด มนุษย์ไม่มีสิทธิที่จะมาแบ่งศาสนา เป็น 4 นิกาย

วิจารณ์

ผมได้กล่าวไปแล้วว่า การสังกัดมัซฮับ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่วายิบ แต่เป็นสิ่งที่ญาอิซฺ(อนุญาติ) เท่านั้น ซึ่งหากเป็นวายิบ ก็ต้องเป็นเงื่อนไข ซึ่งเงื่อนไขนี้ ต้องอิงไปยังอัลกุรอานและซุนนะฮ์ แต่นี่เราบอกว่า ญาอิซฺ แต่ประเด็นของคนเอาวามนั้น มัซฮับของเขา คือ มัซฮับของมุฟตี(มุจญฺฮิด) เพราะอัลกุรอานกล่าวว่า "สูเจ้าจงถามผู้รู้ หากสูเข้าไม่รู้" นี้เป็นเงื่อนไขที่วายิบที่อัลกุรอานได้กล่าวไว้ แต่คนเอาวามจะตามมุฟตีมุจญฮิด แบบเป็นรายบุคคลเป็นการเฉพาะหรือไม่เฉพาะนั้น ก็แล้วแต่ผู้ตักลีดจะสมัครใจ เนื่องจากอัลกุรอานไม่ได้ห้ามในการตามผู้รู้ที่เป็นมุจญฺฮิดเป็นการเฉพาะหรือไม่เฉพาะ และผมหวังว่าบังอะสันคงเอาอายะฮ์ที่ลงให้กับบาทหลวงและนักบวชยาฮูดีและนัสรอนีย์ มาเป็นหลักฐานในการห้ามตามอิมามทั้งสี่ผู้มีภูมิธรรมนะครับ เพราะมันคนละเรื่องกัน มันเปรียบเทียบกันไม่ได้

อ้างจากบังอะสัน

หลักการพิจารณาบทเรียนจากอัลกุรอ่านนั้น น้องเคยอ้างไม่ใช่หรือว่า

العبرة بعموم اللفظ لا بخصوص السبب

การพิจารณาบทเรียน นั้น โดยอาศัยความหมายของถ้อยคำโดยรวม ไม่ใช่ด้วยการจำกัดที่สาเหตุ

วิจารณ์

บังอะสันรู้จักคำว่า عموم หรือเปล่าครับ คำว่า (อุมูม) นี้ คือ คำที่สามารถเจาะจงหรือทอนความหมายได้ และหากหลักการนี้ อุมูม นี้ ไปขัดกับหลักการหรือหลักฐานของศาสนา ก็ย่อมจะให้ความหมายอุมูมไม่ได้

เช่นหะดิษที่ว่า "แท้จริงบรรดาอะมัลนั้นด้วยการเหนียต" (รายงานโดยบุคอรีย์และมุสลิม) หะดิษนี้มีสาเหตุที่เฉพาะ คืออยู่ในเรื่องอพยพเพื่อสตรี การอพยพนี้เป็นอิบาดะฮ์ที่อัลเลาะฮ์ทรงบัญชาแก่ท่านนบี(ซ.ล.) แต่หะดิษนี้ย่อมให้ความหมายอุมูมถึงทุกๆอิบาดะฮ์ คือทุกอิบาดะฮ์นั้นมุสลิมผู้ทำอิบาดะฮ์ต้องทำการเหนียต แต่หะดิษนี้ ก็ไม่ได้ครอบคลุมถึงพวกกาเฟร เนื่องพวกกาเฟรนั้น ไม่ใช่ผู้ที่มีคุณสมบัติในการทำอิบาดะฮ์ เมื่อเป็นเช่นนี้ เหนียตของคนกาเฟรจึงไม่เป็นผลในเรื่องอิบาดะฮ์ ดังนั้น คำว่าอุมูมของ หะดิษนี้ คือ อุมูม(ครอบคลุม) กับสิ่งที่มันครอบคลุมไปยังส่วนต่างๆ فرد ของมันได้ และหากส่วนใดส่วนหนึ่งมีหลักฐานมาเฉพาะมันแล้ว ก็ย่อมไม่สามารถให้ความหมายครอบคลุมมันได้

เราลองมาเข้าประเด็น บังอะสันพยายามเอาอายะฮ์ที่บังอะสันอ้างมานั้น โดยเอามัซฮับทั้งสี่ เข้าไปอยู่ในอายะฮ์ดังกล่าวด้วย เพื่อที่บังอะสันจะเป็นศรัตรูและทำการโจมตีและคัดค้านมัซฮับทั้งสี่ โดยยกอายะฮ์ที่ไม่มีคนเอาวามและนักปราชญ์อิสลามคนใดในโลก นำอายะฮ์ดังกล่าวมาตำหนิมัซฮับทั้งสี่ นอกจากพวกบิดอะฮ์ เท่านั้น ดังนั้น อายะฮ์ที่บังอะสันยกมานั้น ย่อมไม่ครอบคลุม(อุมูม)ความหมายถึงมัซฮับทั้งสี่ เพราะหากครอบคลุมถึง แสดงว่า มัซฮับอะฮ์ลุลหะดิษ และมัซฮับอะฮ์ลุรเราะอ์ ที่มีอยู่สมัยของอัตตาบิอีนนั้น ต้องเป็นพวกแรกที่เข้าไปอยู่ในอายะฮ์นี้ด้วย ซึ่งจะไม่กล่าวแบบนี้ นอกจากพวกบิดอะฮ์เท่านั้น และบรรดามัซฮับทั้งสี่ ก็มีหลักการพร้องกันคือ อัลกุรอาน ซุนนะฮ์ อิจญฺมาอ์ กิยาส ซึ่งเป็นหลักการของอิสลามและอุมมะฮ์ของอิสลามทั้งสะลัฟและค่อลัฟ เมื่อเป็นเช่นนี้ มัซฮับสี่ย่อมไม่เข้าอยู่ในความหมายของอายะฮ์ที่บังอะสันยกมา และจะไม่กล่าวอย่างนี้ นอกจาก พวกบิดอะฮ์

และเป็นที่ทราบดีว่า บรรดาอุลามาอ์นักปราชญ์มัซฮับทั้งสี่นั้น คือผู้ที่ได้รับแบกรับสารอิสลามจนมาถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นอัลกุรอาน และตัฟซีร หรือหะดิษ และการอธิบายหะดิษ จึงเป็นไปไม่ได้ ที่ผู้แบกรับหลักการอิสลามเหล่านั้น คือนักปราชญ์ที่บิดอะฮ์เพราะมีมัซฮับ (ตามทัศนะของพวกบิดอะฮ์ปัจจุบันที่เชื่ออย่างนั้น)

แม้กระทั้ง หนังสือ หะดิษของท่านอัตติรมีซีย์ (ร.ฏ.)นั้น กว่าจะถึงมายังเราได้ ก็ต้องผ่านผู้บันทึกและรายงานจากท่านอัตติรมีซีย์ และผู้ที่บันทึกและรายงานหนังสือหะดิษของท่านอัตติรมีซีย์ ต้องผ่านการรายงานของบุคคลท่านหนึ่ง ที่ชื่อว่า ท่าน "อิบนุ อะรอบีย์"(ร.ฏ.) อุลามาอ์ซูฟีย์ ที่วะฮาบีย์หุกุ่มว่าเป็นมุนาฟิก หุกุ่มเป็นกาเฟร แล้วหนังสือหะดิษของท่านอัตติรมีซีย์นั้น เป็นที่น่าเชื่อถือไหมครับบังอะสัน ในเมื่อมีรายงานสืบทอดนั้น คือมีคนหนึ่งที่เป็นมุนาฟิกและกาเฟรตามทัศนะของวะฮาบีย์

ดังนั้นอายะฮ์ดังกล่าวย่อมไม่ครอบคลุมถึง มัซฮับทั้งสี่ และบรรดานักปราชญ์ของมัซฮับทั้งสี่ ซึ่งมัซฮับทั้งสี่นั้นไม่ได้สร้างความแตกแยกเลย มัสยิดที่ผมละหมาดนั้น บางเวลามีอิมามมัซฮับชาฟิอีย์มานำละหมาด บางเวลามีคนมัซฮับหะนะฟีย์มานำละหมาด ผมเห็นไม่มีปัญหาอะไร แต่หากมีปัญหา ก็คงเป็นปัญหา ที่อยู่ในเชิง"จินตนาการ" ที่วะฮาบีย์สมมุติขึ้นมา เพื่อมาโจมตีมัซฮับเท่านั้น หรือนำการกระทำของผู้ที่ไม่เข้าใจมัซฮับ มาทำการตำหนิเท่านั้นเอง น้ำทะเลคงไม่เป็นนะยิส เพราะมีสิ่งสกปรกตกลงไปหรอกครับ

และมีเหตุการณ์หนึ่ง ที่วะฮาบีย์ได้บันทึกเอาไว้ในสมัยของ กษัตริย์อับดุลอะซีซฺ (ขออัลเลาะฮ์ทรงเมตตา) กษัตริย์ท่านดีเป็นคนดีมากคนหนึ่งที่โลมมุสลิมให้การยอมรับ ส่วนท่านอื่น วัลลอฮฺอะลัม วะฮาบีย์ได้บันทึกประวัติในสมัยของท่านว่า ท่านได้ทำาการบังคับให้ผู้ถือมัซฮับทำการละหมาดร่วมกันในมัสยิดหะรอม !!!??? ซึ่งเป็นความโกหก ที่บรรดาผู้อาศัยที่อยู่ทันกษัตริย์อัลดุลอะซีซที่อยู่ในมักกะฮ์ก็ยังงวยงง เมื่อมีลูกหลานถามถึงเหตุการณ์ดังกล่าว เพราะพวกเขาไม่เคยรู้ว่า มัซฮับทั้งสี่แยกกันละหมาด ซึ่งมีแต่แยกกันเล่าเรียนสี่มุมของมัสยิดหะรอม คือเปิดโอกาศให้ผู้ต้องการเลือกเรียนได้ตามสบายตามที่ตนต้องการ แต่วะฮาบีย์พยายามกล่าวโดยไร้ความจริงว่า มัซฮับมีความแตกแยกจนกระทั้งแยกกันละหมาดในมัสญิดหะรอม??? ซึ่งคำพูดนี้จะไม่กล่าวออกมา นอกจากพวกบิดอะฮ์

อ้างจากบังอะสัน

ในตัฟสีรอัสสะอดีย์ ได้อธิบายอายะฮข้างต้นว่า

ودلت الآية الكريمة أن الدين يأمر بالاجتماع والائتلاف، وينهى عن التفرق والاختلاف في أهل الدين، وفي سائر مسائله الأصولية والفروعية

อายะฮอันทรงเกียรตินี้ แสดงให้รู้ว่า แท้จริง ศาสนา ใช้ให้ร่วมกัน และมีความสมานฉันท์ และห้ามการแตกแยกและขัดแย้งกัน ในบรรดาผู้ที่นับถือ ศาสนา ในในบรรดาประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับศาสนา ทั้งที่เป็นหลักการศาสนาและข้อปลีกย่อย - ดูตัฟสีร อัสสะอดีย เล่ม 8 อรรถาธิบาย อายะฮ 159 ซูเราะฮอันอันอาม

วิจารณ์

การอธิบายของท่านอัศศะอฺอีย์ของอายะฮ์นี้ ไม่ใช่ห้ามถึงการขัดแย้งในเรื่องฟิกห์ เนื่องจากมันเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่มีการขัดแย้งกัน ซึ่งหากอายะอ์อายะฮ์ห้ามการขัดแย้งในเรื่องฟิกห์ แน่นอนว่า ซอฮาบะฮ์คือกลุ่มแรกที่ขัดกับอายะฮ์นี้ (วัลอะยาซุบิลลาห์) แต่อายะฮ์นี้(และท่านอัสสะอฺดีย์ได้อธิบาย)ห้ามการขัดแย้งและมีการแตกแยกไปพร้อมๆกัน ดังนั้น มัซฮับทั้งสี่ก็ขัดแย้งในประเด็นของฟิกห์แต่ไม่ได้แตกแยกแต่ประการใด บรรดาอุลามาอ์ต่างให้เกียตริซึ่งกันและกันเสมอ
แต่ผู้ที่นำเอาปัญหาคิลาฟียะฮ์มาเป็นประเด็นในการสร้างความแตกแยกโดยเชื่อว่า แนวทางของตนเท่านั้นที่ถูก และแนวทางของผู้อื่นผิด เป็นบิดอะฮ์ตกนรก ดังกล่าวนี้แหละที่มันเข้าอยู่ในอายะฮ์ดังกล่าว แล้วเราก็ทราบดีว่า แนวทางใดที่มีคุณลักษณะอย่างนี้ ที่เราสามารถจับต้องได้โดยไม่ต้องจินตนาการขึ้นมา???

อ้างจากบังอะสัน

ผมไม่ได้มีเจตนาว่า อิหม่ามทั้งสี แบ่งแยกนิกาย หรอกครับ ผมต้องการชีให้เห็นว่า การแบ่งแยกศาสนาเป็นนิกายหรือมัซฮับ แล้วพวกนั้นสังกัดนิกายนั้น พวกนี้สังกัดนิกายนี้ นี้มันเป็นพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกับ พวกยะฮูดีและนะศอรอ ที่อัลลอฮกล่าวไว้

วิจารณ์

พอพูดถึงกิยาสในเรื่องอิบาดะฮ์ แล้วบังอะสันค้านหัวตุง จนกระทั้งกล่าวหาว่าพวกเราเป็นพวกทำลายอัลกุรอานและซุนนะฮ์ แต่เวลาเรื่องมัซฮับ บังอะสันกลับเอาบรรดาอุลามาอ์ปราชญ์ของอุมมะฮ์ที่มีมัซฮับ ไปกิยาสเปรียบเทียบกับ พวกยะฮูดีและนะศอรอ ฮ้าๆๆ ประเด็นนี้ ผมพูดแค่นี้ก็พอแล้วครับ ไม่ต้องอธิบายมาก หลักการกิยาสเปรียบเทียบของบังอะสัน ย่อมกลับมาทำลายตัวบังอะสันเองอยู่ครับ

อ้างจากบังอะสัน

แล้วผู้ใดบอกครับ ว่าแนวทางการวินิจฉัยของอิมามทั้งสี่นั้นไม่ใช่มัซฮับ หรือไม่เรียกว่ามัซฮับ อิมามอัช-ชาฟิอีย์กล่าวคำที่เลื่องลือของท่านว่า

إذا صح الحديث فهو مذهبى

ความว่า "เมื่อหะดิษซอฮิหฺ มันย่อมเป็นมัซฮับของฉัน"
...............
ตอบ
น้องไม่ควรนำท่านอิหม่ามชาฟิอีมาอ้าง เพื่อให้ผู้อ่านเห็นว่า บังอะสัน กำลังกล่าวหา ว่า “ อิหม่ามชาฟิอี แบ่งแยกศาสนา เป็นมัซฮับ”
คำพูดของท่านอิหม่ามชาฟิอีข้างต้น นั้น ท่านต้องการจะบอกว่า แนวทางในการพิจารณาประเด็นปัญหาศาสนา ของท่านคือ หะดิษที่เศาะเฮียะ ไม่ได้หมายความว่า ท่านบอกว่า ท่านอิหม่ามชาฟิอี คือ ผู้ก่อตั้นนิกายหรือ มัซฮับชาฟิอี แล้วเรียกร้องเชิญชวนให้คนมาสังกัดและปฏิบัติตาม อย่างที่ น้องอัล-ฟารุกเข้าใจ

วิจารณ์

บังอะสันบอกไม่ใช่หรือครับว่า มัซฮับเป็นสาเหตุทำให้เกิดความแตกแยก เนื่องจากมีการขัดแย้งกันในเรื่องศาสนา บังอะสันบอกได้ใหมล่ะครับ อิมามอัช-ชาฟิอีย์ ไม่เคยขัดแย้งกับอิมามมาลิกเลย อิมามอะหฺมัด ไม่เคยมีความเห็นขัดแย้งกับอิมามอัช-ชาฟิอีย์เลย อิมามมาลิกไม่เคยมีความเห็นขัดแย้งกับอิมามอบูหะนีฟะฮ์เลย ?? แล้วการขัดแย้งอย่างไรหรือครับที่ขัดกับอัลกุรอานตามทัศนะของบังอะสัน???

การที่บรรดาอิมามได้ทำการวินิจฉัยตัวบทออกมานั้น นั่นแหละเขาเรียกว่า "มัซฮับ" (แนวทางในการวินิจฉัย) หรือว่าการวินิจฉัยของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ ด้วยการกิยาสนั้น "ไม่ใช่เป็นมัซฮับ" ของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ ???

ท่านอิมามอัช-ชาฟิอีย์ได้กล่าวคำกล่าวนี้ ย่อมชี้ให้เห็นว่า หากคำกล่าว การวินิจฉัย ของฉัน มันไปขัดกับหะดิษที่ซอฮิหฺ ก็ให้ทิ้ง มัซฮับของฉันที่มาจากการวินิจฉัยนั้นไป แล้วไปยึดหะดิษที่ซอฮิหฺ และนั่นก็คือมัซฮับของฉันที่ถูกต้อง ไม่ใช่ว่ามัซฮับแนวทางในการวินิจฉัยของท่านอิมามอัช-ชาฟิอีย์มีเพียงแค่หะดิษซอฮิหฺอย่างเดียวเท่านั้น หลักฐานอิจญฺมาอ์ กิยาส คำกล่าวของซอฮาบะฮ์ (มัซฮับซอฮาบีย์) ก็ยังเป็นหลักฐานได้ตามมัซฮับ(แนวทาง)การวินิจฉัยของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ แต่พอเราเห็นว่าหะดิษนี้ซอฮิหฺ แล้วเราจะมาแอบอ้างว่า นั่นคือมัซฮับชาฟิอีย์นี้ เดี๋ยวก่อน ต้องพิจารณาก่อนว่า หะดิษดังกล่าวนั้น อิมามอัช-ชาฟิอีย์ได้รับมาแล้วหรือยัง? หากรับมาแล้ว อิมามชาฟิอีย์เขามีจุดยืนอย่างไร ? ซึ่งบางครั้งหะดิษกล่าวดังกล่าว ถูกยกเลิกไปแล้วตามทัศนะของท่าน บางครั้งหะดิษซอฮิหฺดังกล่าวถูกทอนความหมายด้วยหะดิษอื่นที่มาทอนความหมายมัน หรือบางครั้งหะดิษดังกล่าวนี้มีความหมายกว้างๆ โดยมีหะดิษอื่นมาจำกัดความหมายของมัน ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้ เราได้ทำการนำเสนอตอบไปประเด็นเรื่องมัซฮับ ภาคที่ 1 ไปเรียบร้อยแล้ว หากบังอะสันต้องจะเข้าใจก็โปรดกับไปอ่านทบทวน

แต่คำถามเด็ดๆที่บังอะสันยังคงถามวนอยู่เรื่อยไปก็คือ " ไม่ได้หมายความว่า ท่านบอกว่า ท่านอิหม่ามชาฟิอี คือ ผู้ก่อตั้นนิกายหรือ มัซฮับชาฟิอี แล้วเรียกร้องเชิญชวนให้คนมาสังกัดและปฏิบัติตาม" ซึ่งประเด็นเหล่านี้ เราไปมากต่อมากเลย ในกระทู้เกี่ยวกับมัซฮับ ภาค 1 แต่ผมจะตอบแบบสั้นว่า การวินิจฉัยของบรรดานักมุจญฺฮิดนั้น เขาเรียกว่า "มัซฮับ" เช่น มัซฮับท่านอุมัร มัซฮับท่านอลี มัซฮับท่านอิบนุอับบาส มัซฮับท่านอิบนุมัสอูด และมัซฮับท่านอิบนุอุมัรเป็นต้น มัซฮับท่าน อิบนุซุบัยร์ มัซฮับท่านอิบนุอัลมุซัยยับ มัซฮับท่าน อัลเกาะมะฮ์ เป็นต้น มัซฮับของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ มัซฮับอิมามมาลิก มัซฮับอิมามอบูหะนีฟะฮ์ และมัซฮับอิมามอะหฺมัด เป็นต้น ซึ่งมัซฮับนี้ ก็คือ คำกล่าวหุกุ่มที่วินิจฉัยมาจากตัวบทของอัลกุรอาน ซุนนะฮ์ และอื่นๆ บรรดาอิมามทั้งสี่มีความเห็นสอดคล้องกันว่า คนมุก๊อลลิด จำเป็นต้องตามอุลามาอ์มุจญฺฮิด สำหรับสานุศิษย์ของท่านที่เป็นนักมุจญฺฮิดหรือนักมุจญฺฮิดท่านอื่นๆเหล่านั้น บรรดาอิมามทั้งสี่ ไม่อนุญาติให้ตามคำกล่าวของเขาเพียงเพราะตักลีดตาม เนื่องจากไม่อนุญาติให้มุจญฺฮิดตามมุจญฺฮิดซึ่งกันและกัน

ดังนั้น การตามมัซฮับของอิมามทั้งสี่ไม่ใช่เพราะว่า บรรดาท่านอิมามทั้งนั้น ได้ประกาศให้ตามมัซฮับของพวกเขา แต่พวกเขาใช้ให้ตามสิ่งที่ตรงกับอัลกุรอานและซุนนะฮ์ โดยพยายามสั่งสอนให้บรรดาสานุศิษย์เข้าใจในหลักการ และบรรดาอิมามทั้งสี่ไม่ได้ห้ามให้นักมุจญฺฮิดตามวิธีการวินิจฉัยพวกเขาในหลักการของอุศูลุลฟิกห์ ดังนั้น การตามบรรดาอิมามทั้งสี่นั้น ไม่มีนักปราชญ์ของอุมมะฮ์อิสลามท่านใดให้การตำหนิ และมันเป็น อิจญฺมาอ์ มติของปวงปราชน์

ท่านอัดดะฮฺละวีย์กล่าวว่า

إن هذه المذاهب الأربعة المدونة المحررة قد إجمعت الأمة أو من يعتد به منها على جواز تقليدها إلى يومنا هذا ، وفى ذلك من المصالح مالا يخفى ، لا سيما فى هذه الأيام التى قصرت فيها الهمم جدا وأشربت النفوس الهوى وأعجب كل ذى رأى برأيه

ความว่า " แท้จริง บรรดามัซฮับทั้งสี่ที่ได้ถูกบันทึกหลักการไว้เรียบร้อยแล้ว อุมมะฮฺอิสลามได้ลงมติหรือผู้ที่ถูกนับด้วยกับเขาจากการลงมติได้ มีมติเห็นพร้องว่า อนุญาติให้ทำการตักลีดตามบรรดามัซฮับทั้งสี่ได้ จนกระทั้งถึงวันของเรานี้ และในสิ่งดังกล่าวเป็นการรักษาไว้ซึ่งประโยชน์อย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในบรรดายุคสมัยนี้ ซึ่งบรรดาปฏิธานความุ่งมั่นได้ถดถอยลงไปอย่างมาก และบรรดาจิตใจได้ดื่มด่ำกับอารมณ์ และทุกๆผู้มีความเห็น ต่างก็อวดว่าดีด้วยความเห็นของเขา " ดู หนังสือ อัลอันซอฟ ของอิมามอัดดะฮฺละวีย์ หน้า 53 และหนังสือ อัลหุจญฺตุลบาลิเฆาะฮฺ ของอิมามอัดดะฮฺละวีย์ เล่ม 1 หน้า 123 ตีพิมพ์ที่ อัลค๊อยรียะฮฺ

ดังนั้น การอนุญาติ(ไม่วายิบ)สังกัดมัซฮับได้ ก็ด้วยหลักฐานอิจญฺมาอ์ของอุมมะฮ์อิสลาม หรืออิจญฺมาอ์ของผู้ยอมรับได้ (แม้กระทั้งท่านอิบนุตัยมียะอ์และท่านอิบนุก๊อยยิมเองก็ให้การยอมรับในการที่มุก๊อลลิดให้มีมัซฮับได้) ส่วนพวกบิดอะฮ์นั้นถือว่าไม่ทำให้อิจญฺมาอ์ต้องตกไป เช่นพวก ญับรียะฮ์ เกาะดะรียะอ์ ชีอะฮ์อิมาม 12 และปัจจุบันคือ วะฮาบีย์ (หรือว่าบังอะสันจะปฏิเสธ) ซึ่งการคัดค้านของพวกเขาไม่เป็นผลแต่อย่างใดตามทัศนะของปวงปราชญ์อุมมะฮ์อิสลามที่ถูกนับในการอิจญฺมาอ์ อัลหัมดุลิลลาห์

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sat Apr 01, 2006 6:19 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้างจากบังอะสัน

น้องบ่าวครับ คำว่า “แท้จริง บรรดามัซฮับทั้งสี่ที่ได้ถูกบันทึกหลักการไว้เรียบร้อยแล้ว” อยากจะถามว่า ได้บันทึกไว้ในอัลกุรอ่าน หรือ อัสสุนนะฮ หรือเปล่า แล้วสิ่งที่บันทึกที่ว่า วาญิบจะต้องสังกัดหรือเปล่า ?

วิจารณ์

บังอะสันต้องเข้าใจก่อนนะครับว่า มัซฮับทั้งสี่นั้น มันเกี่ยวกับแนวทางของฟิกห์เป็นการเฉพาะเท่านั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ หลักการฟิกห์ในอัลกุรอานและซุนนะฮ์นั้น มัซฮับทั้งสี่ได้ประมวลการวินิจฉัยได้ เกือบหมด หรือหมดทุกประเด็นแล้ว หากวะฮาบีย์วินิจฉัยเรื่องใดในเชิงฟิกห์ ก็ไม่พ้นคำกล่าวของมัซฮับทั้งสี่ เช่นเรื่อง เนื้อกุรบานบริจากให้กาเฟรซิมมีย์ได้หรือไม่ ? วะฮาบีย์กล่าวว่า อนุญาติ มันก็ไปตรงกับมัซฮับหัมบาลีย์ โดยที่ท่านอิบนุก๊อดดามะฮ์ได้กล่าวไว้ในหนังสือ มุฆนีย์ของท่านแล้วเป็นต้น แต่ก็มีบางประเด็นที่วะฮาบีย์ไม่ตรงกับมัซฮับทั้งสี่ นั่นก็ไม่ใช่หมายความว่า มัซฮับทั้งสี่ไม่ได้ประมวลมันเอาไว้นะครับ แต่ว่า วะฮาบีย์แวกแนวต่างหากล่ะครับ

ส่วนคำถามของบังที่ว่า ในอัลกุรอานและหะดิษได้บันทึกไว้หรือเปล่าว่าวายิบให้สังกัดมัซฮับ? อันนี้ ผมก็ตอบไปแล้วนี่ครับ บังอะสันไม่อ่านให้ครบถ้วนเองนะครับ แล้ววนมาอีก และหากบังอะสันกลับไปทบทวนในการสนทนาของเราเรื่องมัซฮับนั้น เราก็ตอบไว้และอธิบายอย่างชัดเจนแล้ว แต่ผมจะตอบสั้นอีกครั้ง การสังกัดมัซฮับทั้ง 4 นั้นไม่วายิบต้องสังกัดเป็นมัซฮับเป็นการเฉพาะ นี่คือทัศนะที่มีน้ำหนัก แต่อนุญาติ (ยาอิซฺ)ให้สังกัดมัซฮับเป็นการเฉพาะสำหรับผู้ที่สมัครใจ โดยเขาต้องไม่เชื่อว่า วายิบต้องสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอีย์ หรือวายิบต้องสังกัดหัมบาลีย์ หรือเขาต้องไม่เชื่อว่า มัซฮับชาฟิอีย์เท่านั้นที่ถูก หรือมัซฮับหะนะฟีย์เท่านั้นที่ถูกต้อง นี่คือคุณลักษณะของผู้ที่มีมัซฮับ หากผู้ที่สังกัดมัซฮับเชื่อเป็นอย่างอื่น เช่นกล่าวว่า ผู้หญิงมัซฮับหะนะฟีย์ แต่งงานกับ ชายมัซฮับชาฟิอีย์ไม่ได้นั้น เป็นคำพูดและความเชื่อที่ผิดอย่างรุนแรง ซึ่งไม่ใช่สาเหตุเพราะมัซฮับ แต่เป็นสาเหตุจากผู้นำมาใช้ผิดๆโดยมีการตะอัศศุบเท่านั้นเอง และการตะอัศศุบนั้น ไม่ใช่เพียงแค่มัซฮับเท่านั้น แต่มันรวมไปถึง ตะอัศศุบ"มัสอะละฮ์ใดมัซอะละฮ์หนึ่ง" ด้วยเช่นกัน คือ หากมัสอะละฮ์หนึ่งที่อยู่ในการวินิจฉัยหรืออยู่บนหลักฐานที่คาดว่าถูก (الظنى ) ก็ไม่อนุญาติให้เชื่อว่า แนวของตนเท่านั้นที่ถูกส่วนแนวทางอื่นนั้นผิด เนื่องจากเราไม่ทราบแน่ว่า ทัศนะใดเป็นทัศนะที่ถูกต้องที่สุดตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูลของพระองค์ แต่สามารถปฏิบัติได้ เพราะมันอยู่บนหลักฐานของศาสนา ส่วนจะผิดจะถูกนั้น อัลเลาะฮ์ทรงผ่อนปรนและประทานอภัยให้

แต่สำหรับผู้ที่เชื่อว่า ประเด็นวินิจฉัยที่อยู่บนหลักฐานที่คาดว่าถูก (الظنى ) คือแนวทางของฉันฝ่ายเดียวตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูล โดยที่ทัศนะนั้นผิด แบบนี้ถือว่า เขาได้อยู่บนแนวทางที่ผิดและบิดอะอ์อย่างชัดเจน เพราะเขาอาจจะโกหกต่ออัลเลาะฮ์และร่อซูลของพระองค์ เนื่องจากไม่มีวาฮีมาบอกอีกแล้วว่า ปัญหานี้ มัสอะละฮ์ ถูกต้องตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูลของพระองค์ ดังนั้น ส่วนมากหรือเกือบทั้งหมดจากปัญหาประเด็นคิลาฟียะฮ์ ที่มีการขัดแย้งในเรื่องวินิจฉัย คือประเด็นทางด้านฟิกห์ที่อยู่บนหลักฐานที่ (الظنى ) ทั้งนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงไม่มีอิมามทั้งสี่ท่านใด ที่ประกาศว่าทัศนะของตนเองนั้นถูกต้องไปทั้งหมด เนื่องจากทุกๆคนย่อมมีผิดและถูก

ดังนั้น บรรดาปัญหาคิลาฟียะฮ์ระหว่างซุนนะฮ์วะฮาบีย์ กับ อะฮ์ลิสซุนนะฮ์ วัลญะมาอะฮ์มัซฮับทั้งสี่ นั้น อยู่บนหลักฐานที่ (الظنى ) ทั้งหมด หากมีผู้ใดเชื่อว่า แนวทางของตนเท่านั้นที่ถูกต้องตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูล เขาย่อมโกหกต่ออัลเลาะฮ์และร่อซูล และกระทำหรือมีความเชื่อของพวกบิดอะฮ์

อ้างจากบังอะสัน

เพราะแนวคิดหรือ มัซฮับ ไม่ใช่สิ่งที่ได้รับสิทธิพิเศษจากอัลลอฮและรอซูล ว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องทั้งหมด มนุษย์ไม่มีสิทธิที่จะมาแบ่งศาสนา เป็น 4 นิกาย

วิจารณ์

ผมได้กล่าวไปแล้วว่า การสังกัดมัซฮับ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่วายิบ แต่เป็นสิ่งที่ญาอิซฺ(อนุญาติ) เท่านั้น ซึ่งหากเป็นวายิบ ก็ต้องเป็นเงื่อนไข ซึ่งเงื่อนไขนี้ ต้องอิงไปยังอัลกุรอานและซุนนะฮ์ แต่นี่เราบอกว่า ญาอิซฺ แต่ประเด็นของคนเอาวามนั้น มัซฮับของเขา คือ มัซฮับของมุฟตี(มุจญฺฮิด) เพราะอัลกุรอานกล่าวว่า "สูเจ้าจงถามผู้รู้ หากสูเข้าไม่รู้" นี้เป็นเงื่อนไขที่วายิบที่อัลกุรอานได้กล่าวไว้ แต่คนเอาวามจะตามมุฟตีมุจญฮิด แบบเป็นรายบุคคลเป็นการเฉพาะหรือไม่เฉพาะนั้น ก็แล้วแต่ผู้ตักลีดจะสมัครใจ เนื่องจากอัลกุรอานไม่ได้ห้ามในการตามผู้รู้ที่เป็นมุจญฺฮิดเป็นการเฉพาะหรือไม่เฉพาะ และผมหวังว่าบังอะสันคงเอาอายะฮ์ที่ลงให้กับบาทหลวงและนักบวชยาฮูดีและนัสรอนีย์ มาเป็นหลักฐานในการห้ามตามอิมามทั้งสี่ผู้มีภูมิธรรมนะครับ เพราะมันคนละเรื่องกัน มันเปรียบเทียบกันไม่ได้

อ้างจากบังอะสัน

หลักการพิจารณาบทเรียนจากอัลกุรอ่านนั้น น้องเคยอ้างไม่ใช่หรือว่า

العبرة بعموم اللفظ لا بخصوص السبب

การพิจารณาบทเรียน นั้น โดยอาศัยความหมายของถ้อยคำโดยรวม ไม่ใช่ด้วยการจำกัดที่สาเหตุ

วิจารณ์

บังอะสันรู้จักคำว่า عموم หรือเปล่าครับ คำว่า (อุมูม) นี้ คือ คำที่สามารถเจาะจงหรือทอนความหมายได้ และหากหลักการนี้ อุมูม นี้ ไปขัดกับหลักการหรือหลักฐานของศาสนา ก็ย่อมจะให้ความหมายอุมูมไม่ได้

เช่นหะดิษที่ว่า "แท้จริงบรรดาอะมัลนั้นด้วยการเหนียต" (รายงานโดยบุคอรีย์และมุสลิม) หะดิษนี้มีสาเหตุที่เฉพาะ คืออยู่ในเรื่องอพยพเพื่อสตรี การอพยพนี้เป็นอิบาดะฮ์ที่อัลเลาะฮ์ทรงบัญชาแก่ท่านนบี(ซ.ล.) แต่หะดิษนี้ย่อมให้ความหมายอุมูมถึงทุกๆอิบาดะฮ์ คือทุกอิบาดะฮ์นั้นมุสลิมผู้ทำอิบาดะฮ์ต้องทำการเหนียต แต่หะดิษนี้ ก็ไม่ได้ครอบคลุมถึงพวกกาเฟร เนื่องพวกกาเฟรนั้น ไม่ใช่ผู้ที่มีคุณสมบัติในการทำอิบาดะฮ์ เมื่อเป็นเช่นนี้ เหนียตของคนกาเฟรจึงไม่เป็นผลในเรื่องอิบาดะฮ์ ดังนั้น คำว่าอุมูมของ หะดิษนี้ คือ อุมูม(ครอบคลุม) กับสิ่งที่มันครอบคลุมไปยังส่วนต่างๆ فرد ของมันได้ และหากส่วนใดส่วนหนึ่งมีหลักฐานมาเฉพาะมันแล้ว ก็ย่อมไม่สามารถให้ความหมายครอบคลุมมันได้

เราลองมาเข้าประเด็น บังอะสันพยายามเอาอายะฮ์ที่บังอะสันอ้างมานั้น โดยเอามัซฮับทั้งสี่ เข้าไปอยู่ในอายะฮ์ดังกล่าวด้วย เพื่อที่บังอะสันจะเป็นศรัตรูและทำการโจมตีและคัดค้านมัซฮับทั้งสี่ โดยยกอายะฮ์ที่ไม่มีคนเอาวามและนักปราชญ์อิสลามคนใดในโลก นำอายะฮ์ดังกล่าวมาตำหนิมัซฮับทั้งสี่ นอกจากพวกบิดอะฮ์ เท่านั้น ดังนั้น อายะฮ์ที่บังอะสันยกมานั้น ย่อมไม่ครอบคลุม(อุมูม)ความหมายถึงมัซฮับทั้งสี่ เพราะหากครอบคลุมถึง แสดงว่า มัซฮับอะฮ์ลุลหะดิษ และมัซฮับอะฮ์ลุรเราะอ์ ที่มีอยู่สมัยของอัตตาบิอีนนั้น ต้องเป็นพวกแรกที่เข้าไปอยู่ในอายะฮ์นี้ด้วย ซึ่งจะไม่กล่าวแบบนี้ นอกจากพวกบิดอะฮ์เท่านั้น และบรรดามัซฮับทั้งสี่ ก็มีหลักการพร้องกันคือ อัลกุรอาน ซุนนะฮ์ อิจญฺมาอ์ กิยาส ซึ่งเป็นหลักการของอิสลามและอุมมะฮ์ของอิสลามทั้งสะลัฟและค่อลัฟ เมื่อเป็นเช่นนี้ มัซฮับสี่ย่อมไม่เข้าอยู่ในความหมายของอายะฮ์ที่บังอะสันยกมา และจะไม่กล่าวอย่างนี้ นอกจาก พวกบิดอะฮ์

และเป็นที่ทราบดีว่า บรรดาอุลามาอ์นักปราชญ์มัซฮับทั้งสี่นั้น คือผู้ที่ได้รับแบกรับสารอิสลามจนมาถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นอัลกุรอาน และตัฟซีร หรือหะดิษ และการอธิบายหะดิษ จึงเป็นไปไม่ได้ ที่ผู้แบกรับหลักการอิสลามเหล่านั้น คือนักปราชญ์ที่บิดอะฮ์เพราะมีมัซฮับ (ตามทัศนะของพวกบิดอะฮ์ปัจจุบันที่เชื่ออย่างนั้น)

แม้กระทั้ง หนังสือ หะดิษของท่านอัตติรมีซีย์ (ร.ฏ.)นั้น กว่าจะถึงมายังเราได้ ก็ต้องผ่านผู้บันทึกและรายงานจากท่านอัตติรมีซีย์ และผู้ที่บันทึกและรายงานหนังสือหะดิษของท่านอัตติรมีซีย์ ต้องผ่านการรายงานของบุคคลท่านหนึ่ง ที่ชื่อว่า ท่าน "อิบนุ อะรอบีย์"(ร.ฏ.) อุลามาอ์ซูฟีย์ ที่วะฮาบีย์หุกุ่มว่าเป็นมุนาฟิก หุกุ่มเป็นกาเฟร แล้วหนังสือหะดิษของท่านอัตติรมีซีย์นั้น เป็นที่น่าเชื่อถือไหมครับบังอะสัน ในเมื่อมีรายงานสืบทอดนั้น คือมีคนหนึ่งที่เป็นมุนาฟิกและกาเฟรตามทัศนะของวะฮาบีย์

ดังนั้นอายะฮ์ดังกล่าวย่อมไม่ครอบคลุมถึง มัซฮับทั้งสี่ และบรรดานักปราชญ์ของมัซฮับทั้งสี่ ซึ่งมัซฮับทั้งสี่นั้นไม่ได้สร้างความแตกแยกเลย มัสยิดที่ผมละหมาดนั้น บางเวลามีอิมามมัซฮับชาฟิอีย์มานำละหมาด บางเวลามีคนมัซฮับหะนะฟีย์มานำละหมาด ผมเห็นไม่มีปัญหาอะไร แต่หากมีปัญหา ก็คงเป็นปัญหา ที่อยู่ในเชิง"จินตนาการ" ที่วะฮาบีย์สมมุติขึ้นมา เพื่อมาโจมตีมัซฮับเท่านั้น หรือนำการกระทำของผู้ที่ไม่เข้าใจมัซฮับ มาทำการตำหนิเท่านั้นเอง น้ำทะเลคงไม่เป็นนะยิส เพราะมีสิ่งสกปรกตกลงไปหรอกครับ

และมีเหตุการณ์หนึ่ง ที่วะฮาบีย์ได้บันทึกเอาไว้ในสมัยของ กษัตริย์อับดุลอะซีซฺ (ขออัลเลาะฮ์ทรงเมตตา) กษัตริย์ท่านดีเป็นคนดีมากคนหนึ่งที่โลมมุสลิมให้การยอมรับ ส่วนท่านอื่น วัลลอฮฺอะลัม วะฮาบีย์ได้บันทึกประวัติในสมัยของท่านว่า ท่านได้ทำาการบังคับให้ผู้ถือมัซฮับทำการละหมาดร่วมกันในมัสยิดหะรอม !!!??? ซึ่งเป็นความโกหก ที่บรรดาผู้อาศัยที่อยู่ทันกษัตริย์อัลดุลอะซีซที่อยู่ในมักกะฮ์ก็ยังงวยงง เมื่อมีลูกหลานถามถึงเหตุการณ์ดังกล่าว เพราะพวกเขาไม่เคยรู้ว่า มัซฮับทั้งสี่แยกกันละหมาด ซึ่งมีแต่แยกกันเล่าเรียนสี่มุมของมัสยิดหะรอม คือเปิดโอกาศให้ผู้ต้องการเลือกเรียนได้ตามสบายตามที่ตนต้องการ แต่วะฮาบีย์พยายามกล่าวโดยไร้ความจริงว่า มัซฮับมีความแตกแยกจนกระทั้งแยกกันละหมาดในมัสญิดหะรอม??? ซึ่งคำพูดนี้จะไม่กล่าวออกมา นอกจากพวกบิดอะฮ์

อ้างจากบังอะสัน

ในตัฟสีรอัสสะอดีย์ ได้อธิบายอายะฮข้างต้นว่า

ودلت الآية الكريمة أن الدين يأمر بالاجتماع والائتلاف، وينهى عن التفرق والاختلاف في أهل الدين، وفي سائر مسائله الأصولية والفروعية

อายะฮอันทรงเกียรตินี้ แสดงให้รู้ว่า แท้จริง ศาสนา ใช้ให้ร่วมกัน และมีความสมานฉันท์ และห้ามการแตกแยกและขัดแย้งกัน ในบรรดาผู้ที่นับถือ ศาสนา ในในบรรดาประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับศาสนา ทั้งที่เป็นหลักการศาสนาและข้อปลีกย่อย - ดูตัฟสีร อัสสะอดีย เล่ม 8 อรรถาธิบาย อายะฮ 159 ซูเราะฮอันอันอาม

วิจารณ์

การอธิบายของท่านอัศศะอฺอีย์ของอายะฮ์นี้ ไม่ใช่ห้ามถึงการขัดแย้งในเรื่องฟิกห์ เนื่องจากมันเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่มีการขัดแย้งกัน ซึ่งหากอายะอ์อายะฮ์ห้ามการขัดแย้งในเรื่องฟิกห์ แน่นอนว่า ซอฮาบะฮ์คือกลุ่มแรกที่ขัดกับอายะฮ์นี้ (วัลอะยาซุบิลลาห์) แต่อายะฮ์นี้(และท่านอัสสะอฺดีย์ได้อธิบาย)ห้ามการขัดแย้งและมีการแตกแยกไปพร้อมๆกัน ดังนั้น มัซฮับทั้งสี่ก็ขัดแย้งในประเด็นของฟิกห์แต่ไม่ได้แตกแยกแต่ประการใด บรรดาอุลามาอ์ต่างให้เกียตริซึ่งกันและกันเสมอ
แต่ผู้ที่นำเอาปัญหาคิลาฟียะฮ์มาเป็นประเด็นในการสร้างความแตกแยกโดยเชื่อว่า แนวทางของตนเท่านั้นที่ถูก และแนวทางของผู้อื่นผิด เป็นบิดอะฮ์ตกนรก ดังกล่าวนี้แหละที่มันเข้าอยู่ในอายะฮ์ดังกล่าว แล้วเราก็ทราบดีว่า แนวทางใดที่มีคุณลักษณะอย่างนี้ ที่เราสามารถจับต้องได้โดยไม่ต้องจินตนาการขึ้นมา???

อ้างจากบังอะสัน

ผมไม่ได้มีเจตนาว่า อิหม่ามทั้งสี แบ่งแยกนิกาย หรอกครับ ผมต้องการชีให้เห็นว่า การแบ่งแยกศาสนาเป็นนิกายหรือมัซฮับ แล้วพวกนั้นสังกัดนิกายนั้น พวกนี้สังกัดนิกายนี้ นี้มันเป็นพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกับ พวกยะฮูดีและนะศอรอ ที่อัลลอฮกล่าวไว้

วิจารณ์

พอพูดถึงกิยาสในเรื่องอิบาดะฮ์ แล้วบังอะสันค้านหัวตุง จนกระทั้งกล่าวหาว่าพวกเราเป็นพวกทำลายอัลกุรอานและซุนนะฮ์ แต่เวลาเรื่องมัซฮับ บังอะสันกลับเอาบรรดาอุลามาอ์ปราชญ์ของอุมมะฮ์ที่มีมัซฮับ ไปกิยาสเปรียบเทียบกับ พวกยะฮูดีและนะศอรอ ฮ้าๆๆ ประเด็นนี้ ผมพูดแค่นี้ก็พอแล้วครับ ไม่ต้องอธิบายมาก หลักการกิยาสเปรียบเทียบของบังอะสัน ย่อมกลับมาทำลายตัวบังอะสันเองอยู่ครับ

อ้างจากบังอะสัน

แล้วผู้ใดบอกครับ ว่าแนวทางการวินิจฉัยของอิมามทั้งสี่นั้นไม่ใช่มัซฮับ หรือไม่เรียกว่ามัซฮับ อิมามอัช-ชาฟิอีย์กล่าวคำที่เลื่องลือของท่านว่า

إذا صح الحديث فهو مذهبى

ความว่า "เมื่อหะดิษซอฮิหฺ มันย่อมเป็นมัซฮับของฉัน"
...............
ตอบ
น้องไม่ควรนำท่านอิหม่ามชาฟิอีมาอ้าง เพื่อให้ผู้อ่านเห็นว่า บังอะสัน กำลังกล่าวหา ว่า “ อิหม่ามชาฟิอี แบ่งแยกศาสนา เป็นมัซฮับ”
คำพูดของท่านอิหม่ามชาฟิอีข้างต้น นั้น ท่านต้องการจะบอกว่า แนวทางในการพิจารณาประเด็นปัญหาศาสนา ของท่านคือ หะดิษที่เศาะเฮียะ ไม่ได้หมายความว่า ท่านบอกว่า ท่านอิหม่ามชาฟิอี คือ ผู้ก่อตั้นนิกายหรือ มัซฮับชาฟิอี แล้วเรียกร้องเชิญชวนให้คนมาสังกัดและปฏิบัติตาม อย่างที่ น้องอัล-ฟารุกเข้าใจ

วิจารณ์

บังอะสันบอกไม่ใช่หรือครับว่า มัซฮับเป็นสาเหตุทำให้เกิดความแตกแยก เนื่องจากมีการขัดแย้งกันในเรื่องศาสนา บังอะสันบอกได้ใหมล่ะครับ อิมามอัช-ชาฟิอีย์ ไม่เคยขัดแย้งกับอิมามมาลิกเลย อิมามอะหฺมัด ไม่เคยมีความเห็นขัดแย้งกับอิมามอัช-ชาฟิอีย์เลย อิมามมาลิกไม่เคยมีความเห็นขัดแย้งกับอิมามอบูหะนีฟะฮ์เลย ?? แล้วการขัดแย้งอย่างไรหรือครับที่ขัดกับอัลกุรอานตามทัศนะของบังอะสัน???

การที่บรรดาอิมามได้ทำการวินิจฉัยตัวบทออกมานั้น นั่นแหละเขาเรียกว่า "มัซฮับ" (แนวทางในการวินิจฉัย) หรือว่าการวินิจฉัยของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ ด้วยการกิยาสนั้น "ไม่ใช่เป็นมัซฮับ" ของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ ???

ท่านอิมามอัช-ชาฟิอีย์ได้กล่าวคำกล่าวนี้ ย่อมชี้ให้เห็นว่า หากคำกล่าว การวินิจฉัย ของฉัน มันไปขัดกับหะดิษที่ซอฮิหฺ ก็ให้ทิ้ง มัซฮับของฉันที่มาจากการวินิจฉัยนั้นไป แล้วไปยึดหะดิษที่ซอฮิหฺ และนั่นก็คือมัซฮับของฉันที่ถูกต้อง ไม่ใช่ว่ามัซฮับแนวทางในการวินิจฉัยของท่านอิมามอัช-ชาฟิอีย์มีเพียงแค่หะดิษซอฮิหฺอย่างเดียวเท่านั้น หลักฐานอิจญฺมาอ์ กิยาส คำกล่าวของซอฮาบะฮ์ (มัซฮับซอฮาบีย์) ก็ยังเป็นหลักฐานได้ตามมัซฮับ(แนวทาง)การวินิจฉัยของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ แต่พอเราเห็นว่าหะดิษนี้ซอฮิหฺ แล้วเราจะมาแอบอ้างว่า นั่นคือมัซฮับชาฟิอีย์นี้ เดี๋ยวก่อน ต้องพิจารณาก่อนว่า หะดิษดังกล่าวนั้น อิมามอัช-ชาฟิอีย์ได้รับมาแล้วหรือยัง? หากรับมาแล้ว อิมามชาฟิอีย์เขามีจุดยืนอย่างไร ? ซึ่งบางครั้งหะดิษกล่าวดังกล่าว ถูกยกเลิกไปแล้วตามทัศนะของท่าน บางครั้งหะดิษซอฮิหฺดังกล่าวถูกทอนความหมายด้วยหะดิษอื่นที่มาทอนความหมายมัน หรือบางครั้งหะดิษดังกล่าวนี้มีความหมายกว้างๆ โดยมีหะดิษอื่นมาจำกัดความหมายของมัน ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้ เราได้ทำการนำเสนอตอบไปประเด็นเรื่องมัซฮับ ภาคที่ 1 ไปเรียบร้อยแล้ว หากบังอะสันต้องจะเข้าใจก็โปรดกับไปอ่านทบทวน

แต่คำถามเด็ดๆที่บังอะสันยังคงถามวนอยู่เรื่อยไปก็คือ " ไม่ได้หมายความว่า ท่านบอกว่า ท่านอิหม่ามชาฟิอี คือ ผู้ก่อตั้นนิกายหรือ มัซฮับชาฟิอี แล้วเรียกร้องเชิญชวนให้คนมาสังกัดและปฏิบัติตาม" ซึ่งประเด็นเหล่านี้ เราไปมากต่อมากเลย ในกระทู้เกี่ยวกับมัซฮับ ภาค 1 แต่ผมจะตอบแบบสั้นว่า การวินิจฉัยของบรรดานักมุจญฺฮิดนั้น เขาเรียกว่า "มัซฮับ" เช่น มัซฮับท่านอุมัร มัซฮับท่านอลี มัซฮับท่านอิบนุอับบาส มัซฮับท่านอิบนุมัสอูด และมัซฮับท่านอิบนุอุมัรเป็นต้น มัซฮับท่าน อิบนุซุบัยร์ มัซฮับท่านอิบนุอัลมุซัยยับ มัซฮับท่าน อัลเกาะมะฮ์ เป็นต้น มัซฮับของอิมามอัช-ชาฟิอีย์ มัซฮับอิมามมาลิก มัซฮับอิมามอบูหะนีฟะฮ์ และมัซฮับอิมามอะหฺมัด เป็นต้น ซึ่งมัซฮับนี้ ก็คือ คำกล่าวหุกุ่มที่วินิจฉัยมาจากตัวบทของอัลกุรอาน ซุนนะฮ์ และอื่นๆ บรรดาอิมามทั้งสี่มีความเห็นสอดคล้องกันว่า คนมุก๊อลลิด จำเป็นต้องตามอุลามาอ์มุจญฺฮิด สำหรับสานุศิษย์ของท่านที่เป็นนักมุจญฺฮิดหรือนักมุจญฺฮิดท่านอื่นๆเหล่านั้น บรรดาอิมามทั้งสี่ ไม่อนุญาติให้ตามคำกล่าวของเขาเพียงเพราะตักลีดตาม เนื่องจากไม่อนุญาติให้มุจญฺฮิดตามมุจญฺฮิดซึ่งกันและกัน

ดังนั้น การตามมัซฮับของอิมามทั้งสี่ไม่ใช่เพราะว่า บรรดาท่านอิมามทั้งนั้น ได้ประกาศให้ตามมัซฮับของพวกเขา แต่พวกเขาใช้ให้ตามสิ่งที่ตรงกับอัลกุรอานและซุนนะฮ์ โดยพยายามสั่งสอนให้บรรดาสานุศิษย์เข้าใจในหลักการ และบรรดาอิมามทั้งสี่ไม่ได้ห้ามให้นักมุจญฺฮิดตามวิธีการวินิจฉัยพวกเขาในหลักการของอุศูลุลฟิกห์ ดังนั้น การตามบรรดาอิมามทั้งสี่นั้น ไม่มีนักปราชญ์ของอุมมะฮ์อิสลามท่านใดให้การตำหนิ และมันเป็น อิจญฺมาอ์ มติของปวงปราชน์

ท่านอัดดะฮฺละวีย์กล่าวว่า

إن هذه المذاهب الأربعة المدونة المحررة قد إجمعت الأمة أو من يعتد به منها على جواز تقليدها إلى يومنا هذا ، وفى ذلك من المصالح مالا يخفى ، لا سيما فى هذه الأيام التى قصرت فيها الهمم جدا وأشربت النفوس الهوى وأعجب كل ذى رأى برأيه

ความว่า " แท้จริง บรรดามัซฮับทั้งสี่ที่ได้ถูกบันทึกหลักการไว้เรียบร้อยแล้ว อุมมะฮฺอิสลามได้ลงมติหรือผู้ที่ถูกนับด้วยกับเขาจากการลงมติได้ มีมติเห็นพร้องว่า อนุญาติให้ทำการตักลีดตามบรรดามัซฮับทั้งสี่ได้ จนกระทั้งถึงวันของเรานี้ และในสิ่งดังกล่าวเป็นการรักษาไว้ซึ่งประโยชน์อย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในบรรดายุคสมัยนี้ ซึ่งบรรดาปฏิธานความุ่งมั่นได้ถดถอยลงไปอย่างมาก และบรรดาจิตใจได้ดื่มด่ำกับอารมณ์ และทุกๆผู้มีความเห็น ต่างก็อวดว่าดีด้วยความเห็นของเขา " ดู หนังสือ อัลอันซอฟ ของอิมามอัดดะฮฺละวีย์ หน้า 53 และหนังสือ อัลหุจญฺตุลบาลิเฆาะฮฺ ของอิมามอัดดะฮฺละวีย์ เล่ม 1 หน้า 123 ตีพิมพ์ที่ อัลค๊อยรียะฮฺ

ดังนั้น การอนุญาติ(ไม่วายิบ)สังกัดมัซฮับได้ ก็ด้วยหลักฐานอิจญฺมาอ์ของอุมมะฮ์อิสลาม หรืออิจญฺมาอ์ของผู้ยอมรับได้ (แม้กระทั้งท่านอิบนุตัยมียะอ์และท่านอิบนุก๊อยยิมเองก็ให้การยอมรับในการที่มุก๊อลลิดให้มีมัซฮับได้) ส่วนพวกบิดอะฮ์นั้นถือว่าไม่ทำให้อิจญฺมาอ์ต้องตกไป เช่นพวก ญับรียะฮ์ เกาะดะรียะอ์ ชีอะฮ์อิมาม 12 และปัจจุบันคือ วะฮาบีย์ (หรือว่าบังอะสันจะปฏิเสธ) ซึ่งการคัดค้านของพวกเขาไม่เป็นผลแต่อย่างใดตามทัศนะของปวงปราชญ์อุมมะฮ์อิสลามที่ถูกนับในการอิจญฺมาอ์ อัลหัมดุลิลลาห์

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sat Apr 01, 2006 7:24 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

คุณ konyakroo กล่าวว่า
ถ้าเช่นนั้นคุณก็อย่าเข้ามาสร้างฟิตนะสิ่งที่ผมกำลังนำเสนอซิครับ เพราะคุณเคยห้ามผมก่อนในกระทู้บิดอะฮ์ที่ผมเล่นเจาะจุดอ่อนคุณ คุณเลยขอรน้องผมไม่ให้เข้าไปสนทนา..ฮ้า
..................
ตอบ

โอ้..นี้หรือครับ ผู้มีความรู้ ที่เข้ามาสอนคนอื่น หรือว่าหาป่าช้าลงไม่ได้ ผมมีสิทธิที่จะเข้ามาเว็บใดก็ได้หากเจ้าของเว็บไม่ห้าม ดีนะครับที่ อ. ฟาริดใจกว้าง ให้พวกคุณเข้ามาเผยแพร่ แนวทางของพวกคุณได้ คุณทั้งกระทู้นี้มาเพื่อต้องการบอกว่า พวกเราคือ พวกที่ก่อให้เกิดการแตกแยก และเป็นกระทู้ที่เกิดจากควันหลงของความไม่พอใจที่ อ. ฟาริด ปิดกระทู้ ซึ่งสาเหตุก็เกิดจากความไม่รักษาสัญญาที่ให้ไว้ คนผิดสัญญาหะดิษว่าอย่างไรนั้น คุณบอกว่า ผมเข้ามาเพื่อก่อฟิตนะฮ ผมว่า คนที่อ่านเขาเข้าใจ เขาสมารถแยกออกว่า ระหว่างผมและ พวกคุณนั้น ใครคือผู้ก่อฟิตนะฮ ผมว่า ทางที่ดี ไปลงหลุมเสียเถอะครับ อย่ามาหลอกชาวบ้านเลย
.................
ผมขอจบแค่นี้ แต่..ถ้าสิ่งใดผมเห็นว่าไม่ถูกต้องและ เสียดสี ว่า พวกวะฮบีย อย่างนั้น อย่างนี้ ในทางเสียหายผมจะเข้า ฟัดพวกคุณแน่ เพราะคุณเรียกผมว่า "เสือสมิงดำ" ฮะฮา
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sat Apr 01, 2006 7:39 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

น้องบ่าวอัล-ฟารุกกล่าวว่า
ดังนั้น บรรดาปัญหาคิลาฟียะฮ์ระหว่างซุนนะฮ์วะฮาบีย์ กับ อะฮ์ลิสซุนนะฮ์ วัลญะมาอะฮ์มัซฮับทั้งสี่ นั้น อยู่บนหลักฐานที่ (الظنى ) ทั้งหมด หากมีผู้ใดเชื่อว่า แนวทางของตนเท่านั้นที่ถูกต้องตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูล เขาย่อมโกหกต่ออัลเลาะฮ์และร่อซูล และกระทำหรือมีความเชื่อของพวกบิดอะฮ์
..........................................
ตอบ

นี้แหละท่านผู้อ่าน น้อง konyakroo ห้ามไม่ให้กระผมเข้ามายุ่งในกระทู้นี้ ก็ลองอ่านคำพูดของน้อง อัล-ฟารุก กล่าวข้างต้นซิครับ
หากมีผู้ใดเชื่อว่า แนวทางของตนเท่านั้นที่ถูกต้องตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูล เขาย่อมโกหกต่ออัลเลาะฮ์และร่อซูล และกระทำหรือมีความเชื่อของพวกบิดอะฮ์
..........
คำสอนของน้องอัล-ฟารุกข้างต้น สอนให้เราเป็นตาบอดคลำช้าง กล่าวคือ สิ่งที่ตัวเองปฏิบัติอยู่ เป็นเพียงการคาดเดา ไมรู้ถูกหรือไม่ เพราะถ้าหากเข้าใจว่า สิ่งที่ตนปฏิบัติอยู่ถูกต้อง ก็กลายเป็น การโกหกต่ออัลลอฮและรอซูล อีกทั้งกลายเป็นพวกบิดอะฮไปเลย ซุบฮานั้ลลอฮ แสดงว่า
อัลกุรอ่านและหะดิษ นำมาเป็นมาตรฐานวัดถูกผิด ไม่ได้เลยใช่ไหม?.. เศร้าจริงๆครับท่านผู้ชม
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sat Apr 01, 2006 8:15 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

น้องบ่าวอัล-ฟารุกกล่าวว่า
ดังนั้น บรรดาปัญหาคิลาฟียะฮ์ระหว่างซุนนะฮ์วะฮาบีย์ กับ อะฮ์ลิสซุนนะฮ์ วัลญะมาอะฮ์มัซฮับทั้งสี่ นั้น อยู่บนหลักฐานที่ (الظنى ) ทั้งหมด หากมีผู้ใดเชื่อว่า แนวทางของตนเท่านั้นที่ถูกต้องตามทัศนะของอัลเลาะฮ์และร่อซูล เขาย่อมโกหกต่ออัลเลาะฮ์และร่อซูล และกระทำหรือมีความเชื่อของพวกบิดอะฮ์
................
ตอบ
มาดูคำพูดของอัล-หาฟิซ อิบนุเราะญับ กล่าวไว้ว่า
وإنما يتم ذلك بأمرين :
أحدهما : أن يكون العمل في ظاهره على موافقة السنة ، وهذا هو الذي تضمنه حديث عائشة : " ‏مَنْ أَحْدَثَ فِي أَمْرِنَا هَذَا مَا لَيْسَ فِيهِ فَهُوَ رَدٌّ " . الثاني : أن يكون العمل في باطنه يقصد به وجه الله عز وجل ، كما تضمنه حديث عمر : " الأعمال بالنيات

และแท้จริง ดังกล่าวนั้น(อะมั้ล)จะสมบูรณ์ นั้นต้องประกอบด้วย 2 ประการคือ

1. ปรากฏว่าการงาน(อะมั้ล)นั้นในรูปภายนอกของมัน สอดคล้องกับอัสสุนนะฮ และนี้คือที่ หะดิษท่านหญิงอะอีฉะฮได้รับรองมันเอาไว้ว่า "ผู้ใดอุตริสิ่งใหม่ขึ้นมาในกิจการ(ศาสนา)ของเรานี้ สิ่งซึ่งไม่มีในมัน มันถูกปฏิเสธ
2. ปรากฏว่าการงานนั้น ในรูปภายในของมัน เขามีจุดประสงค์ในการปฏิบัติมันเพื่ออัลลอฮ ผู้ทรงอำนาจ ผู้ทรงสูงส่ง ดังสิ่งที่หะดิษท่านอุมัร ได้รับรองมันเอาไว้ว่า "บรรดาการงานนั้น ขึ้นอยู่กับการเจตนา"
- جامع العلوم والحكم " (1/72)
................
ข้างบนนี่คือ มาตรฐานในการตรวจสอบอะมั้ล ว่าถูกต้องตามเงื่อนไขที่อัลลอฮทรงรับหรือไม่
..............
ขอมาอัฟด้วยที่อดไม่ได้ที่จะตอบ แม้เจ้าของกระทู้จะยิกแล้ว อะสัน ออกไปปปปปป ..ฮะฮา
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 2:20 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

وَأَنَّ هَـذَا صِرَاطِي مُسْتَقِيماً فَاتَّبِعُوهُ وَلاَ تَتَّبِعُواْ السُّبُلَ فَتَفَرَّقَ بِكُمْ عَن سَبِيلِهِ ذَلِكُمْ وَصَّاكُم بِهِ لَعَلَّكُمْ تَتَّقُونَ

[6.153] และแท้จริงนี้คือทางของข้าอันเที่ยงตรงพวกเจ้าจงปฏิบัติตามมันเถิด และอย่าปฏิบัติตามหลาย ๆ ทาง เพราะมันจะทำให้พวกเจ้าแยกออกไปจากทางของพระองค์ นั่นแหละที่พระองค์ได้สั่งเสียมันไว้แก่พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะยำเกรง[/font">
ขอถามคุณเสือสมิงดำเป็นข้อๆ

[b][font=Symbol]..สิ่งที่ยกมานี้มันตรงกับพระประสงค์ของอัลลอฮ์(ซบ)ที่ดำรัสไว้ในอัลกรุอานกับสิ่งที่คุณยัดเยียดหรือกล่าวประนาฌให้กับฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นแบบนั้นโดยเฉพาะในประชาชาติยุคของเรานี้..
..
----ตอบมาด้วยหลักฐานและที่คุณยกมาครับ...ห้ามเอาความคิดตัวเองมาตัดสินครับ

2.คุณเข้าใจเนื้อหาหมดอย่างท่องแท้ในความหมายของอายะที่คุณยกมา ทั้งหมดหรือไม่

-----ตอบมาด้วยอย่าเบี่ยงเบนและเฉไฉอีกละ...

3.ในโองการนี้ลงมาเพื่อมุ่งสำทับหรือโจมตีฝ่ายที่ต่างทัศนะคือพวกเรา หรือผู้ที่ยืนอยู่บนแนวทางของผู้มีความรู้เช่น อีหม่ามทั้ง4 ..
......................
ตอบ

มาดูความหมายคำว่า السبل (หลายๆทาง) ในอายะฮข้งต้น

فأما «السُّبُل»، فقال ابن عباس: هي الضلالات. وقال مجاهد: البدع والشبهات.
สำหรับคำว่า (หลายๆทาง) อิบนุอับบาส กล่าวว่า คือ บรรดาความหลงผิด และมุญาฮิด กล่าวว่า บรรดาบิดอะฮและ ความคลุมเครือ
ตัฟสีรซาดุ้ลมาสีร ฟีอิลมิตตัฟสีร ของอิบนุเญาซีย์ อรรถาธิบายอายะฮที่ 153 ซูเราะฮอันอันอาม
.............

3.ในโองการนี้ลงมาเพื่อมุ่งสำทับหรือโจมตีฝ่ายที่ต่างทัศนะคือพวกเรา หรือผู้ที่ยืนอยู่บนแนวทางของผู้มีความรู้เช่น อีหม่ามทั้ง4
..................
ตอบ
อายะฮข้างต้น เรียกร้องให้ดำเนินตามแนวทางของอัลลอฮ อย่าตามหลายๆแนวทาง และอายะฮนี้นั้น ไม่ได้กล่าวถึง มัซฮับทั้งสี่ เพราะสมัยท่านนบี ไม่ได้สอนเรื่องมัซฮับทั้งสี่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 2:22 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

salam

เริ่มแรกบังอะสันบอกว่า

ท่าน อัล-หาฟิซฺ อิบนุ รอยับ กล่าว.........

และจบด้วยคำพูดที่ว่า

ข้างบนนี่คือ มาตรฐานในการตรวจสอบอะมั้ล ว่าถูกต้องตามเงื่อนไขที่อัลลอฮทรงรับหรือไม่

นี่แหละครับ มาตรฐานการอ้างอิงจุดยืนของบังอะสัน เดิมทีบังอะสันบอกนักบอกหนาว่า เราชอบอ้างแต่อุลามาอ์ แต่เวลาเอาเข้าใจจริง บังอะสันก็อ้างคำกล่าวของอุลามาอ์ แล้วสรุปว่า คือเงื่อนไขที่อัลเลาะฮ์รับรอง... พูดง่ายๆก็คือ สิ่งที่บังอะสันอ้างจากอุลามาอ์นั้น คือสิ่งที่อัลเลาะฮ์รับรอง นี่คำนึงถึงการแบบวิธีการอ้างหลักฐานนะครับ

แต่เนื้อหานั้นที่ท่านอิบนุรอญับกล่าวไว้นั้น ถูกต้องแน่นอนครับอัลหัมดุลลิลาห์ และก็ขอกล่าวว่าอัลหัมดุลิลลาห์ ที่ท่าน อัล-หาฟิซฺอิบนุ รอญับ ไม่ได้มีอากิดะฮ์เหมือนกับ วะฮาบีย์ เนื่องจากอิบนุหะญัรกล่าวว่า ผู้ที่อธิบายคุณลักษณะของอัลเลาะฮ์แบบผิดเผินนั้น คือพวกบิดอะฮ์ ซึ่งแนวทางนี้ก็เป็นแนวทางหนึ่งของวะฮาบีย์ และอัลหัมดุลิลลาห์ที่ท่าน อัล-หาฟิซฺ อิบนุ รอญับ นี้ เป็นอุลามาอ์ที่อยู่ในมัซฮับของ หัมบาลีย์ ซึ่งเป็นอุลามาอ์อีกท่านหนึ่ง ที่แบ่งแยกศาสนาเป็นมัซฮับ ตามทัศนะของวะฮาบีย์ของบังอะสัน ฮ้าๆๆ แล้วมีอุลามาอ์นักปราชญ์ท่านใดบ้างล่ะครับเนี่ย ที่มีแนวทางเหมือนกับวะฮาบีย์และบังอะสัน ?? น่าอนาจใจครับ

อ้างจากบังอะสัน

คำสอนของน้องอัล-ฟารุกข้างต้น สอนให้เราเป็นตาบอดคลำช้าง กล่าวคือ สิ่งที่ตัวเองปฏิบัติอยู่ เป็นเพียงการคาดเดา ไมรู้ถูกหรือไม่ เพราะถ้าหากเข้าใจว่า สิ่งที่ตนปฏิบัติอยู่ถูกต้อง ก็กลายเป็น การโกหกต่ออัลลอฮและรอซูล อีกทั้งกลายเป็นพวกบิดอะฮไปเลย ซุบฮานั้ลลอฮ แสดงว่า
อัลกุรอ่านและหะดิษ นำมาเป็นมาตรฐานวัดถูกผิด ไม่ได้เลยใช่ไหม?.. เศร้าจริงๆครับท่านผู้ชม

วิจารณ์

น่าหดหู่ใจ ที่บังอะสันมองขี้ตาตนเองไม่เห็น ก็ธรรมดาอย่างนี้แหละครับ ที่ทำให้บังอะสันต้องสนทนาแบบสะเปะสะปะไปที พูดอย่าเดาดมๆว่า "สิ่งที่ตัวเองปฏิบัติอยู่เป็นเพียงการคาดเดา" ผมเองก็อุตสาห์ วงเล็บเป็นภาษาอาหรับไปแล้วว่า (الظنى ) แต่บังอะสันวะฮาบีย์จัด แปลว่า "คาดเดา" คือหลังจากที่บังอะสันอธิบายอายะฮ์อัลกุรอานโดยสนองอารมณ์ในหลักการของตนเอง แล้วก็มาแปลคำว่า ( الظنى ) ว่า "คาดเดา" คือแปลว่าสนองและรับใช้อารมณ์ของตนเองเหมือนเดิมครับ "คนเอากามเป็นนายเอากายเป็นทาส" มันก็อย่างนี้แหละครับ บังอะสันครับ คำว่า"คาดเดา"นั้น ภาษาอาหรับเรียกว่า ( الشك ) ส่วนคาดว่าถูกต้องนั้นภาษาอาหรับเขาเรียกว่า " الظن " ส่วนคำว่า ถูกต้องอย่างมั่นใจนั้น ภาษาเขาเรียกว่า ( اليقين ) คำว่า"คาดว่าถูกต้อง" ( الظنى ) นี้ หมายถึง "การรับรู้ที่ได้มาจากหลักฐานที่คาดว่าถูกต้อง" เช่นหะดิษ อาฮาด ( أحاد ) คือหะดิษที่ไม่ถึงขั้นมุตะวาติร ย่อมให้ผลการรับรู้ที่ไม่เด็ดขาด แต่คาดว่าถูกต้องซึ่งเขาเรียกว่า( الظنى ) แต่หะดิษที่มีสายรายงานถึงขั้นมุตะวาติรนั้น ย่อมให้ผลการรับรู้ที่เด็ดขาดมั่นใจแน่นอน ( اليقينى ) ผู้ใดปฏิเสธย่อมเป็นกาเฟร เช่นละหมาด 5 เวลานั้น เป็นฟัรดูวายิบ การถือศีล การออกซะกาต การทำฮัจญฺ ถือว่าเป็นฟัรดูวายิบ เพราะมีหลักฐานที่มุตะวาติรมายืนยัน ดังนั้น เมื่อเรากลับมาดูเรื่องการวินิจฉัยในเรื่องฟิกห์ ส่วนมากจะให้ผลการรับรู้ที่ ( الظنى ) ไม่ใช่ มุตะวาติรที่ให้ผลการรับรู้ที่มั่นใจแน่นอน ( اليقينى ) แต่อย่างใด เพราะแต่ละมัสอะละฮ์ในการวินิจฉัยเรื่องฟิกห์นั้น ส่วนมาก มันเกิดขึ้นโดยไม่อยู่ในระดังมุตะวาติร ยิ่งไปปัญหาคิลาฟียะฮ์ด้วยแล้ว ไม่มีมุตะวาติรอย่างเด็ดขาด ดังนั้น การกล่าวว่า ผู้ใดที่อ่านกุนูตเป็นคนทำบิดอะฮ์ เป็นคนชั่วตกนรก หรือ คนที่อ่านตัลกีนเป็นคนทำบิดอะฮ์ เป็นคนชั่วตกนรกนั้น เขาย่อมเป็นผู้ที่ตะอัศศุบ หรือผู้ที่อยู่ในแนวทางของบิดอะฮ์ที่มาคุกคามชาริอัตของอิสลาม ฮ้าๆ

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 2:26 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

แก้ไข
ข้อความของท่าน konyakroo

وَأَنَّ هَـذَا صِرَاطِي مُسْتَقِيماً فَاتَّبِعُوهُ وَلاَ تَتَّبِعُواْ السُّبُلَ فَتَفَرَّقَ بِكُمْ عَن سَبِيلِهِ ذَلِكُمْ وَصَّاكُم بِهِ لَعَلَّكُمْ تَتَّقُونَ

[6.153] และแท้จริงนี้คือทางของข้าอันเที่ยงตรงพวกเจ้าจงปฏิบัติตามมันเถิด และอย่าปฏิบัติตามหลาย ๆ ทาง เพราะมันจะทำให้พวกเจ้าแยกออกไปจากทางของพระองค์ นั่นแหละที่พระองค์ได้สั่งเสียมันไว้แก่พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะยำเกรง[/font">
ขอถามคุณเสือสมิงดำเป็นข้อๆ

[b][font=Symbol]..สิ่งที่ยกมานี้มันตรงกับพระประสงค์ของอัลลอฮ์(ซบ)ที่ดำรัสไว้ในอัลกรุอานกับสิ่งที่คุณยัดเยียดหรือกล่าวประนาฌให้กับฝ่ายตรงข้ามว่าเป็นแบบนั้นโดยเฉพาะในประชาชาติยุคของเรานี้..
..
----ตอบมาด้วยหลักฐานและที่คุณยกมาครับ...ห้ามเอาความคิดตัวเองมาตัดสินครับ

2.คุณเข้าใจเนื้อหาหมดอย่างท่องแท้ในความหมายของอายะที่คุณยกมา ทั้งหมดหรือไม่

-----ตอบมาด้วยอย่าเบี่ยงเบนและเฉไฉอีกละ...

3.ในโองการนี้ลงมาเพื่อมุ่งสำทับหรือโจมตีฝ่ายที่ต่างทัศนะคือพวกเรา หรือผู้ที่ยืนอยู่บนแนวทางของผู้มีความรู้เช่น อีหม่ามทั้ง4 ..
......................
ตอบ

มาดูความหมายคำว่า السبل (หลายๆทาง) ในอายะฮข้งต้น
فأما السُّبُل فقال ابن عباس: هي الضلالات. وقال مجاهد: البدع والشبهات
.
สำหรับคำว่า (หลายๆทาง) อิบนุอับบาส กล่าวว่า คือ บรรดาความหลงผิด และมุญาฮิด กล่าวว่า บรรดาบิดอะฮและ ความคลุมเครือ
ตัฟสีรซาดุ้ลมาสีร ฟีอิลมิตตัฟสีร ของอิบนุเญาซีย์ อรรถาธิบายอายะฮที่ 153 ซูเราะฮอันอันอาม
.............

3.ในโองการนี้ลงมาเพื่อมุ่งสำทับหรือโจมตีฝ่ายที่ต่างทัศนะคือพวกเรา หรือผู้ที่ยืนอยู่บนแนวทางของผู้มีความรู้เช่น อีหม่ามทั้ง4
..................
ตอบ
อายะฮข้างต้น เรียกร้องให้ดำเนินตามแนวทางของอัลลอฮ อย่าตามหลายๆแนวทาง และอายะฮนี้นั้น ไม่ได้กล่าวถึง มัซฮับทั้งสี่ เพราะสมัยท่านนบี ไม่ได้สอนเรื่องมัซฮับทั้งสี่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 2:35 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้างจากบังอะสัน

มาดูความหมายคำว่า السبل (หลายๆทาง) ในอายะฮข้งต้น

فأما «السُّبُل»، فقال ابن عباس: هي الضلالات. وقال مجاهد: البدع والشبهات.
สำหรับคำว่า (หลายๆทาง) อิบนุอับบาส กล่าวว่า คือ บรรดาความหลงผิด และมุญาฮิด กล่าวว่า บรรดาบิดอะฮและ ความคลุมเครือ
ตัฟสีรซาดุ้ลมาสีร ฟีอิลมิตตัฟสีร ของอิบนุเญาซีย์ อรรถาธิบายอายะฮที่ 153 ซูเราะฮอันอันอาม

วิจารณ์

วันนี้บังอะสันก็อ้างจากหนังสือตัฟซีร ของท่านอิบนุเญาซีย์ (ร.ฮ.) ซึ่ท่านอิบนุเญาซีย์นี้ มีอากิดะฮ์ไม่เหมือนกับวะฮาบีย์ และเป็นอุลามาอ์ทีวะฮาบีย์ไม่มีวันพอใจในตัวของท่าน เนื่องจากท่านได้แต่งหนังสือโด้ตอบอุลามาอ์ของวะฮาบีย์รุ่นก่อนแบบไม่มีเหลือ และท่านอิบนุเญาซีย์นี้ ก็เป็นอุลามาอ์ที่อยู่ในมัซฮับของ หัมบาลีย์ ด้วยครับ เอ... ไม่มีทราบว่า ท่านอิบนุเญาซีย์นี้ แบ่งแยกศาสนาตามทัศนะของบังอะสันอีกหรือครับนะครับเนี่ย เฮ้อ.. แล้วมีอุลามาอ์ท่านใดบ้างล่ะครับ ที่อยู่ในแนวทางของบังอะสัน

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 2:53 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้างจากบังอะสัน

มาดูความหมายคำว่า السبل (หลายๆทาง) ในอายะฮข้งต้น

วิจารณ์

ความจริงเรื่องความหมาย السبل (หลายๆทาง) นี้ บังมุหัมมัดเคยสนทนาหวดกับบังบังอะสันมาแล้วในเวปมุรีดนะครับ ใครใดที่ขยันทบทวนก็ไปหาได้นะครับ เพราะบังมุหัมมัดแกหวดซ่ะหนักๆเลยเหมือนกัน

รูปที่บังอะสันโพสต์แนบติดมานั้น ผมนึกว่าเป็นแมวดำนะครับ แต่ที่ใหนได้ มันไปสมิงดำ ความจริงบังอะสันโพศต์แมว เอ๋ย สมิงดำนี้ เพราะบังเขาเกรง สิ่งห์โตที่น่าเกรงขามของผมมากนะครับ ก็เลยเอาสมิงดำมาข่มเราด้วยนะครับ ความจริงผมเองนั้น ก็น่าเกรงขามเหมือนสิงห์โตนี่แหละครับ แต่หล่อโดนใจไม่ใช่เล่นๆนะครับ ฮ้าๆๆ บังอะสันครับ ผมกลับเมืองไทยเมื่อไหร่ บังก็จะรู้เลยว่า ผมนั้นพูดจริง...ฮีฮีฮี ฮ้าๆๆ

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 3:03 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้างจากบังอะสัน

อายะฮข้างต้น เรียกร้องให้ดำเนินตามแนวทางของอัลลอฮ อย่าตามหลายๆแนวทาง และอายะฮนี้นั้น ไม่ได้กล่าวถึง มัซฮับทั้งสี่ เพราะสมัยท่านนบี ไม่ได้สอนเรื่องมัซฮับทั้งสี่

วิจารณ์

บังอะสันครับ อย่าลืมอีกประเด็นหนึ่งที่บังน่าจะกล่าวด้วยว่า " มัซฮับสำนักอะฮ์ลุลหะดิษ(ที่ฮิญาซฺ และ มัซฮับสำหนักอะฮ์ลุรเราะอ์ (ที่อีรัก) " ที่เกิดขึ้นในสมัยของซอฮาบะฮ์และตาบิอีน ก็ไม่มีในสมัยท่านนบี(ซ.ล.) และท่านนบี(ซ.ล.)ไม่ได้สอนไว้ เพื่อบังอะสันจะได้หุกุ่มบิดอะฮ์เหมาไปพร้อมๆกันเลยนะครับ เผื่อจะได้ไม่ต้องซ้อนเร้นทัศนะของตัวเองให้เสียเวลา ฮ้าๆๆ

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 3:05 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้างจากบังอะสัน

อายะฮข้างต้น เรียกร้องให้ดำเนินตามแนวทางของอัลลอฮ อย่าตามหลายๆแนวทาง และอายะฮนี้นั้น ไม่ได้กล่าวถึง มัซฮับทั้งสี่ เพราะสมัยท่านนบี ไม่ได้สอนเรื่องมัซฮับทั้งสี่

วิจารณ์

บังอะสันครับ อย่าลืมอีกประเด็นหนึ่งที่บังน่าจะกล่าวด้วยว่า " มัซฮับสำนักอะฮ์ลุลหะดิษ(ที่ฮิญาซฺ และ มัซฮับสำหนักอะฮ์ลุรเราะอ์ (ที่อีรัก) " ที่เกิดขึ้นในสมัยของซอฮาบะฮ์และตาบิอีน ก็ไม่มีในสมัยท่านนบี(ซ.ล.) และท่านนบี(ซ.ล.)ไม่ได้สอนไว้ เพื่อบังอะสันจะได้หุกุ่มบิดอะฮ์เหมาไปพร้อมๆกันเลยนะครับ เผื่อจะได้ไม่ต้องซ้อนเร้นทัศนะของตัวเองให้เสียเวลา ฮ้าๆๆ

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 6:45 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

salam

ผมเองก็ได้กลับไปทบทวน การสนทนาของบังมุหัมมัด ที่เคยสนทนาไว้กับบังอะสัน ที่เวปมุรีด ซึ่งเป็นการสนทนาที่มีสาระพอสมควร ผมจะนำเสนอดังนี้ครับ

No. : 7178

คุณอะสันเล่นกัดไม่ปล่อยเลย อัลอัซฮะรีย์บอกผมว่า ตอนที่เขาไม่เข้ามานั้น ก็ให้ผมช่วยสนทนาไปพลางๆ ซึ่งความจริงแล้วผมเองก็ไม่มีเวลาเท่าไหร่ ยิ่งช่วงนี้ก็ใกล้สอบเหมือนกัน แม้ผมจะอายุมากกว่าอัลอัซฮะรีย์หลายปี แต่บางสิ่งบางอย่างผมก็ต้องไปถามและพึ่งพาอาศัยเขา และจากอายะฮฺที่ความหมายของอัลอัซฮะรีย์ได้กล่าวไปนั้น ถูกต้องแล้ว เนื่องจากอายะฮฺที่อัลอัซฮะรีย์ยกอ้างอิงไปนั้น ย่อมรวมถึงการวินิจฉัยของบรรดาอุลามาอฺของประชาชาติอัลอิสลามด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มัซฮับทั้ง 4 อัลอัซฮะรีย์ยกอายะฮฺที่ว่า

والذين جاهدوا فينا لنهدنهم سبلنا

"และบรรดาผู้ซึ่งต่อสู้ทุ่มเทในเรื่องของเรา แน่นอนว่า เราจะชี้แนะพวกเขาหลายๆแนวทางของเรา "

ไม่ว่าคุณอะสันจะไปเลือกแปลแบบ ต่อสู้ดิ้นรน แต่อัลอัซฮะรีย์แปลว่า " ต่อสู้ทุ่มเท " หรือคุณอะสันจะแปลว่า "ทางของเรา" แต่อัลอัซฮะรีย์แปลว่า "หลายๆแนวทางของเรา" ซึ่งหากผู้สันทัดในภาษาอาหรับพิจารณาให้จงดีแล้ว เราจะพบว่า อัลอัซฮะรีย์ ได้ให้ความหมายไว้อย่างลึกซึ้งและถูกต้องที่สุด เพราะว่าคำว่า جاهدوا นั้นสามารถแปลได้ว่า ต่อสู้(ดิ้นรน) หรือต่างทุ่มเทความพยายาม ก็ตรงกับความหมายภาษาอาหรับอย่างชัดเจน ดังนั้นอัลอัซฮะรีย์ให้ความหมายว่า "ต่อสู้ทุ่มเท"นั้น ถูกต้องที่สุดแล้ว เนื่องจากว่า หากเราไปศึกษาหะดิษ เราจะพบว่า การ ญิฮาด ต่อสู้ หรือทุ่มเท นั้น มีอยู่สามหนทาง คือ ด้วยกำลังกาย ด้วยคำพูด และด้วยจิตใจ ซึ่งอายะฮฺนี้นั้น บรรดานักมุจญฺฮิด ที่ทำการทุ่มเททั้งแรงกาย แรงใจหรือทุ่มเทการวินิจฉัย พร้อมกับทุ่มเทในการใช้คำพูดในการพ่ำสอนตักเตือนในเรื่อง(สิทธิ)ของอัลเลาะฮฺ فينا พวกเขาก็ย่อมอยู่ในกลุ่มที่ทำการญิฮาดเช่นเดียวกัน และเป็นการญิฮาดที่ยิ่งใหญ่ด้วย และเช่นกัน ที่พวกเขาย่อมอยู่ในคำตัฟซีรที่คุณอะสันยกมาจากตัฟซีรอิบนุกะษีรเพียงบางส่วน ที่ว่า

يَعْنِي الرَّسُول صَلَّى اللَّه عَلَيْهِ وَسَلَّمَ وَأَصْحَابه وَأَتْبَاعه إِلَى يَوْم الدِّين

"และบรรดาผู้ต่อสู้ทุ่มเทในทางของเราแน่นอนเรา หมายถึง ท่านรซูลุลลอฮ ศอลฯ บรรดาสาวกของท่านและ บรรดาผู้เจริญรอยตามท่าน จนถึงวันกิยามะฮ "
ดังนั้น บรรดาซอฮาบะฮฺของร่อซูลุลเลาะฮฺ(ซ.ล.) และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เจริญรอยตามร่อซูลุลเลาะฮฺ(ซ.ล.) ร่วมถึงอิมามทั้ง 4 อย่างแน่นอน "

และอัลอัซฮะรีย์ แปลว่า "หลายๆแนวทางของเรา " ซึ่งเป็นคำแปลที่ถูกต้อง เพราะคำว่า سبل นั้น เป็นพหูพจน์ ไม่ใช่เอกพจน์ ดังนั้นบรรดาแนวทางการวินิจฉัยของบรรดาอิมามทั้ง 4 นั้น ย่อมเป็นแนวทางของอัลอิสลาม ไม่ใช่บิดอะฮฺ ซึ่งบรรดามัซฮับหรือแนวทางในการวินิจฉัยของพวกเขานั้น ย่อมเป็นแนวทางหรือหนทางที่ไปสู่อัลเลาะฮฺ และพวกเขาก็มีเจตนาที่จะสร้างความพึงพอพระทัยต่ออัลเลาะฮฺ ทั้งในดุนยาและอาคิเราะฮฺทั้งสิ้น

ดังนั้นอายะฮฺนี้ คุณอะสันก็อย่าไปอธิบายแบบแคบๆ และในตัฟซีรของท่านอิบนุกะษีร และท่านอื่นๆนั้น ก็มีการอธิบายอายะฮฺดังกล่าวอยู่ในหลายนัยด้วยกัน เนื่องจากอัลกุรอานนั้นเปิดกว้างในคำสอน

สำหรับอายะฮฺที่คุณอะสันยกมานั้น คือ

وَأَنَّ هَـذَا صِرَاطِي مُسْتَقِيماً فَاتَّبِعُوهُ وَلاَ تَتَّبِعُواْ السُّبُلَ فَتَفَرَّقَ بِكُمْ عَن سَبِيلِهِ ذَلِكُمْ وَصَّاكُم بِهِ لَعَلَّكُمْ تَتَّقُونَ

[6.153> และแท้จริงนี้คือทางของข้าอันเที่ยงตรงพวกเจ้าจงปฏิบัติตามมันเถิด และอย่าปฏิบัติตามหลาย ๆ ทาง เพราะมันจะทำให้พวกเจ้าแยกออกไปจากทางของพระองค์ นั่นแหละที่พระองค์ได้สั่งเสียมันไว้แก่พวกเจ้า เพื่อว่าพวกเจ้าจะยำเกรง
- อันอันอาม/153

ซึ่งอายะฮฺนี้นั้น ทำไมคุณอะสันถึงไม่ยอมอธิบาย หรือถ้าอธิบายแล้ว มันจะไม่เกี่ยวกับเรื่องมัซฮับทั้งสี่ เลยไม่ยอมนำมาอธิบาย ทั้งที่ หากเราไปดูตัฟซีร อิบนุกะษีร ตัฟซีร อัลมุยัสซัร หรือตัฟซีรอัฏฏ๊อบรีย์ นั้น คำว่า "ทางของข้า" นั้น หมายถึง "อัลอิสลาม" ไม่ใช่ "นะซอรอ ยาฮูดีย์ มะญูซีย์ พวกกราบไว้เจว็ด และศาสนาอื่นๆ ที่ลุ่มหลงบิดอะฮฺ " ดังนั้น คุณอะสันกล้าบอกว่าไหมว่า มัซฮับทั้งสี่นั้นไม่ใช่ อิสลาม แต่หากคุณอะสันบอกว่าเป็นอิสลามแล้ว แน่นอนเหลือเกินว่า อายะฮฺดังกล่าวนี้ ย่อมไม่เกี่ยวกับเรื่องฟิกห์สี่มัซฮับ ดังนั้น คุณอะสันก็อย่าไปยกอายะฮฺนี้ ไปโจมตีมัซฮับทั้ง 4 เพราะมันอันตรายต่อบังอะสันโดยไม่รู้ตัวนะครับ

ผู้ส่ง: มุหัมมัด

วันที่ส่ง: 10.12.2005 22:37:06


วิจารณ์

คำพูดของบังมุหัมมัดยังคมคายเหมือนเดิมครับ หากว่าบังมุหัมมัดได้เข้ามาอ่าน ก็อย่าเข้ามาร่วมสนทนาในช่วงนี้เลยนะครับ เดี๋ยวคนที่กำลังรอลายแครง เรานั้น จะหาเรื่องปิดกระทู้ของบังคนอยากรู้หลาว.. ฮ้าๆๆ

wassalam

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
al-farook
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 24/08/2005
ตอบ: 297
ที่อยู่: อียิปต์

ตอบตอบ: Sun Apr 02, 2006 11:25 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

เป็นที่ทราบกันดีว่า ในเรื่องมัสอะละฮ์อิจญฺฮาด หรือประเด็นข้อปลีกย่อยนั้น ตามแบบฉบับของสะสะฟุศศอลิหฺนั้น พวกเขาจะให้เกียตริซึ่งกันและกัน เมื่อเป็นเช่นนี้ ผมก็อยากจะยกคำพูดของท่าน อิบนุตัยมียะฮ์ เพื่อมาเสริมทัศนะของเราสักนิดนึง ซึ่งท่านอิบนุตัยมียะฮ์ กล่าวว่า

فهذه المسائل التي تنازع فيها السلف والأئمة، فكل واحد منهم أقر الآخر على اجتهاده... فمن ترجح عنده تقليد الشافعي لم ينكر على من ترجح عنده تقليد مالك، ومن ترجح عنده تقليد أحمد لم ينكر على من ترجح عنده تقليد الشافعي، ونحو ذلك“. وإذا كان الأمر كذلك، فإن المنكر على مخالفيه ـ إذا كانوا قد اعتمدوا على أدلة قال بها بعض الأئمة ـ فهو مخالف لهذا النهج متعد على مخالفيه

" ดังนั้น บรรดาประเด็นปัญหาต่างๆเหล่านี้ ที่บรรดาสะลัฟและบรรดานักปราชญ์ชั้นนำทั้งหลายนั้น ทุกๆคนจากพวกเขา ก็ให้การยอมรับกับผู้อื่น บนเรื่องของวินิจฉัยของเขา ดังนั้น ผู้ใดที่ทัศนะของเขาให้น้ำหนักการตักลีดอิมามอัช-ชาฟิอีย์ เขาก็จะไม่ไปตำหนิผู้ที่เขามีทัศนะให้น้ำหนักตักลีดกับอิมามมาลิก และผู้ใดที่ทัศนะของเขาให้น้ำการตักลีดอิมามอะหฺมัด เขาก็จะไม่ไปตำหนิผู้ที่เขามีทัศนะที่ให้น้ำหนักการตักลีดอิมามอัช-ชาฟิอีย์ และเหมือนๆเช่นดังกล่าว และเมื่อเป็นอย่างเช่นดังกล่าวนี้ ดังนั้น แท้จริง ผู้ที่ทำการตำหนิ ต่อบรรดาผู้ที่มีทัศนะขัดแย้งกับเขา - โดยที่ในเมื่อพวกเขาได้ทำการยึดบรรดาหลักฐานต่างๆที่บรรดานักปราชน์ชั้นำบางท่านได้กล่าวเอาไว้ - แน่นอนว่า เขา (ผู้ทำการตำหนิ) นั้น ย่อมเป็นผู้ที่ขัดแย้งกับแนวทางนี้ อีกทั้งเขาได้ละเมิดต่อผู้ที่มีทัศนะขัดแย้งกับเขา " (ดู หนังสือ มัจญฺมั๊วะ อัล-ฟะตาวา ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ เล่ม 20 หน้า 292 )

เมื่อเราอ่านดูแล้ว วะฮาบีย์โดนเต็มๆเลยครับ แล้ววะฮาบีย์เขามีแนวทางตามแบบฉบับของใครกัน ?? เป็นคำถามที่เราน่าจะช่วยกันตอบนะครับ ?

_________________
นักศึกษาอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์
www.sunnahstudent.com
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว ส่งอีเมล์ เข้าชมเว็บไซต์
แสดงการตอบก่อนนี้:   
ตั้งกระทู้ใหม่   กระทู้นี้ถูกปิดคุณไม่สามารถแก้ไขคำตอบหรือตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> ปัญหาศาสนา ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
ไปที่หน้า ก่อนนี้  1, 2, 3, 4, 5  ถัดไป
หน้า 3 จากทั้งหมด 5

 
ไปยัง:  
คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ใหม่ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลบการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลงคะแนนในแบบสำรวจในกระดานนี้
คุณ สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


Powered by phpBB ฉ 2001, 2002 phpBB Group







ที่ตั้งมูลนิธิ


สำนักงาน มูลนิธิ อนุรักษ์มรดกอิสลาม
เลขที่ 27/5 หมู่ที่ 2 ถนนเลียบวารี แขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพฯ
ติดต่อ : 02-956-9860, 02-956-9958
E-mail : moradokislam@hotmail.com
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ในการนำไปเผยแพร่ในหนทางที่ถูกต้อง และควรระบุแหล่งที่มาของข้อมูล

PHP-Nuke Copyright © 2005 by Francisco Burzi. This is free software, and you may redistribute it under the GPL. PHP-Nuke comes with absolutely no warranty, for details, see the license.
การสร้างหน้าเอกสาร: 0.08 วินาที
IPBNukeRed theme by HOLBROOKau and
PHP-Nuke Thailand ©2004
เธ‚เธญเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธตเธซเธ™เนˆเธญเธขเธ„เธฃเธฑเธšเธชเธกเธฑเธ„เธฃเธ›เธธเนŠเธšเธฃเธฑเธšเธ›เธฑเนŠเธšเน„เธกเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธเธฒเธ เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เน‚เธšเธ™เธฑเธชเน„เธ”เน‰เน€เธ‡เธดเธ™เธˆเธฃเธดเธ‡ slot938 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaicasinobin เนเธˆเธเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธšเธฒเธ„เธฒเธฃเนˆเธฒ เธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ JQK41 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaibet55 kubet เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เนเธ—เธ‡เธšเธญเธฅ เธ‹เธญเธ„เน€เธเธญเธฃเนŒเธฅเธตเธ เธ„เธฐเนเธ™เธ™เธŸเธธเธ•เธšเธญเธฅ เน€เธงเน‡เธšเธžเธ™เธฑเธ™เธญเธฑเธ™เธ”เธฑเธš1 HUC99 เน€เธงเน‡เธšเธ•เธฃเธ‡ เน„เธกเนˆเธœเนˆเธฒเธ™เน€เธญเน€เธขเนˆเธ™เธ•เนŒ