ยินดีต้อนรับสู่ Moradokislam.org!
Homeหน้าแรก     Forumsกระดานข่าว     Your Accountสำหรับสมาชิก     Downloadsดาวน์โหลด     Submit Newsเผยแพร่ข่าวสาร     Topicsหัวข้อเรื่อง     Select Thai LangaugeThai Langauge   
อนุรักษ์มรดกอิสลาม :: ดูกระทู้ - เหลือเชื่อ !!! เสื้อเรารักนบีเป็นบิดอะห์
อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก อนุรักษ์มรดกอิสลาม  
  เพื่อการอนุรักษ์มรดกอิสลาม      คำถามถามบ่อยของกระดานข่าว      ค้นหา      รายนามสมาชิก  
  · เข้าระบบ ข้อมูลส่วนตัว · เข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณ · กลุ่มผู้ใช้งาน  
เหลือเชื่อ !!! เสื้อเรารักนบีเป็นบิดอะห์
ไปที่หน้า ก่อนนี้  1, 2, 3 ... 11, 12, 13 ... 25, 26, 27  ถัดไป
 
ตั้งกระทู้ใหม่   กระทู้นี้ถูกปิดคุณไม่สามารถแก้ไขคำตอบหรือตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> ปัญหาศาสนา
ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป  
ผู้ส่ง ข้อความ
มุหัมมัด
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 06/11/2005
ตอบ: 210


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 3:52 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

นางอะสัน นายซอลิม และคุณอิสยาส ผู้นิยมลัทธิวะฮาบีย์ ไม่มีอะไรใหม่ พูดไร้น้ำหนักและวนเข้าป่าครับ

น้องอัลฟารูกได้เคยอ้างอิงคำพูดของอิบนุตัยมียะฮ์ว่า

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า

واما ما يصنع للميت ويصل اليه باتفاق العلماء وهو الصدقة ونحوها فاذا تصدق عن الميت بذلك المال لقوم مستحقين لوجه الله تعالي ، ولم يطلب منهم عملا أيضا ، كان نافعا للميت وللحى يتصدق عنه باتفاق العلماء

“สำหรับ สิ่งที่ถูกทำขึ้น ให้กับมัยยิด โดยที่ผลบุญก็ถึงมัยยิด โดยมติของปวงปราชน์ และสิ่งที่ถูกทำให้แก่มัยยิดนั้น คือ การทำทาน และอื่นๆ ดังนั้น เมื่อทรัพย์ดังกล่าวที่ทำทานให้กับมัยยิด กับกลุ่มชนที่มีสิทธิ์จะได้รับ(คือบรรดามุสลิมีน) เพื่ออัลเลาะฮ์ตะอาลา โดยที่ไม่ได้มีความต้องการจากพวกเขากับการกระทำ(ทำทาน)เช่นเดียวกัน มันก็เป็นผลประโยชน์ให้กับมัยยิด และอนุญาตให้กับคนเป็น ทำการทำทานแทนมัยยิด โดยมติของปวงปราชญ์" ดู ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 142 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวอีกว่า (ขอยกเป็นภาษาไทยเลยนะครับ เพราะคร้านจะยกเป็นอาหรับ)

وأما الأكل من الطعام ، فان كان قد صنعه الوارث من ماله لم يحرم الأكل منه..إلخ

“ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน และหาก(ทำทาน)สิ่งที่ถูกทำขึ้น จากมรดของมัยยิดโดยที่มัยยิดเองยังมีหนี้อยู่ที่ยังไม่ได้ชดใช้และมัยยิดก็มีทายาทที่เป็นเด็กที่ดังกล่าวเป็นสิทธิของพวกเขานั้น ก็จะกินไม่ได้ “ ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 143 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ


เราขอสนทนาวิจารณ์กับวะอาบีย์ ถึง ท้ศนะของอิบนุตัยมียะฮ์กันสักหน่อยครับ อิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า " “ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน.."

ถามพวกวะฮาบีย์

หากทายาทของมัยยิด ทำการรวบรวมเงินของพวกเขาเอง แล้วไปทำเลี้ยงอาหารเป็นทานให้แก่มัยยิดนั้น เป็นบิดอะฮ์ตามทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์หรือไม่??? เป็นสิ่งที่หะรอมหรือไม่??

แล้วอิบนุตัยมียะฮ์เข้าใจหลักการนี้ว่าอย่างไร??

หรือว่าอิบนุตัยมียะฮ์มีหลักการที่บิดอะฮ์ตามทัศนะของวะฮาบีย์ ที่ทายาทไปเลี้ยงอาหารทำทาน??

หมายเหตุ... เราพิจารณาทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์เท่านั้น และเราก็ไม่ได้นำมาเพื่อสนับสนุนแนวทางของเราด้วย แต่เราจะถามพวกวะฮาบีย์เกี่ยวกับทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์นี้ โปรดวะฮาบีย์ช่วยแก่ต่างและชี้แจงใหลลื่น ให้กับอิบนุตัยมียะฮ์ดว้ยนะครับ

ว่างๆจะเข้ามาทวงคำถาม .....เพื่อดัดนิสัยวะฮาเบี้ยว ที่ไม่ยอมตอบคำถามของคนอื่น...ขอเผ่นก่อนนะ ไปล่ะ

Wink Wink Wink Very Happy Very Happy Very Happy Confused Confused Confused Confused Confused Confused Confused Confused Confused

_________________
ต่อต้านวะฮาบีย์บิดอะฮ์พันธ์ใหม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
มุหัมมัด
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 06/11/2005
ตอบ: 210


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 4:07 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

วะฮาบีย์ทั้งหลาย อย่าทำตัวเป็นวะฮาเบี้ยว ลื่นไหลไม่ยอมตอบคำถาม

น้องอัลฟารูกได้เคยอ้างอิงคำพูดของอิบนุตัยมียะฮ์ว่า

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า

واما ما يصنع للميت ويصل اليه باتفاق العلماء وهو الصدقة ونحوها فاذا تصدق عن الميت بذلك المال لقوم مستحقين لوجه الله تعالي ، ولم يطلب منهم عملا أيضا ، كان نافعا للميت وللحى يتصدق عنه باتفاق العلماء

“สำหรับ สิ่งที่ถูกทำขึ้น ให้กับมัยยิด โดยที่ผลบุญก็ถึงมัยยิด โดยมติของปวงปราชน์ และสิ่งที่ถูกทำให้แก่มัยยิดนั้น คือ การทำทาน และอื่นๆ ดังนั้น เมื่อทรัพย์ดังกล่าวที่ทำทานให้กับมัยยิด กับกลุ่มชนที่มีสิทธิ์จะได้รับ(คือบรรดามุสลิมีน) เพื่ออัลเลาะฮ์ตะอาลา โดยที่ไม่ได้มีความต้องการจากพวกเขากับการกระทำ(ทำทาน)เช่นเดียวกัน มันก็เป็นผลประโยชน์ให้กับมัยยิด และอนุญาตให้กับคนเป็น ทำการทำทานแทนมัยยิด โดยมติของปวงปราชญ์" ดู ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 142 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวอีกว่า (ขอยกเป็นภาษาไทยเลยนะครับ เพราะคร้านจะยกเป็นอาหรับ)

وأما الأكل من الطعام ، فان كان قد صنعه الوارث من ماله لم يحرم الأكل منه..إلخ

“ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน และหาก(ทำทาน)สิ่งที่ถูกทำขึ้น จากมรดของมัยยิดโดยที่มัยยิดเองยังมีหนี้อยู่ที่ยังไม่ได้ชดใช้และมัยยิดก็มีทายาทที่เป็นเด็กที่ดังกล่าวเป็นสิทธิของพวกเขานั้น ก็จะกินไม่ได้ “ ดู ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 143 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ


เราขอสนทนาวิจารณ์กับวะอาบีย์ ถึง ท้ศนะของอิบนุตัยมียะฮ์กันสักหน่อยครับ อิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า " “ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน.."

ถามพวกวะฮาบีย์

หะดิษของท่านญะรีร มันหลุดสายตาของอิบนุตัยมียะฮ์ไปได้อย่างไง ถึงพูดออกมาว่า "สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน" ???

หรือว่าหะดิษของท่านญะรีรนั้น บรรดาอุลามาอ์และอิบนุตัยมียะฮ์ ไม่ได้เข้าใจเหมือนกับที่วะฮาบีย์เข้าใจ???

หากทายาทของมัยยิด ทำการรวบรวมเงินของพวกเขาเอง แล้วไปทำเลี้ยงอาหารเป็นทานให้แก่มัยยิดนั้น เป็นบิดอะฮ์ตามทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์หรือไม่??? เป็นสิ่งที่หะรอมหรือไม่??

แล้วอิบนุตัยมียะฮ์เข้าใจหลักการนี้ว่าอย่างไร?? หรือว่าอิบนุตัยมียะฮ์มีหลักการที่บิดอะฮ์ตามทัศนะของวะฮาบีย์ ที่ทายาทไปเลี้ยงอาหารทำทาน??

หมายเหตุ... เราพิจารณาทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์เท่านั้น และเราก็ไม่ได้นำมาเพื่อสนับสนุนแนวทางของเราด้วย แต่เราจะถามพวกวะฮาบีย์เกี่ยวกับทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์นี้ โปรดวะฮาบีย์ช่วยแก่ต่างและชี้แจงใหลลื่น ให้กับอิบนุตัยมียะฮ์ดว้ยนะครับ

ว่างๆจะเข้ามาทวงคำถาม .....เพื่อดัดนิสัยวะฮาเบี้ยว ที่ไม่ยอมตอบคำถามของคนอื่น...ขอเผ่นก่อนนะ ไปล่ะ

Shocked Shocked Shocked Shocked Shocked Shocked Shocked Confused Confused Confused Confused Confused Confused Confused Confused Confused Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy

_________________
ต่อต้านวะฮาบีย์บิดอะฮ์พันธ์ใหม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
adeel
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 02/06/2004
ตอบ: 172


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 10:10 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้าว...ลนลาน รีบเข้ามากลบกลื่นจนคว้าผิดคว้าถูก ฮ่าๆๆๆ

คว้าคำอิบนุตัยมียะฮ์ มาอ้าง ลืมไปหรือเปล่า ว่าเขาไว้อย่างไร

งงเหลือหลาย....ทิ้งอิหม่ามชาฟีอี ยึดอิบนุตัยมียะห์อย่างเหนี่ยวแน่น


นายมุหัมมัด เป็นวะฮาบี หรือนี่ ขำวะ

ฮ่าๆๆๆๆๆ เอิกๆๆๆ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
adeel
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 02/06/2004
ตอบ: 172


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 10:15 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อ้อ !!! แต่ขำไม่ออก

ใส่ร้ายนะบีไว้อะนะนายมูหัมมัด ว่าไงละ

กลบเกลื่อนๆๆ เฉยเลย

ยังไม่โดนอัชฮารีย์ตบบ้องหู สลบคาเท้าหรือ ฮึฮึฮึๆๆๆ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
adeel
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 02/06/2004
ตอบ: 172


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 12:59 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

นายมุหัมมัดจะกล่าวหาพวกเราว่าเป็นวะฮาบีย์ วะฮาเบี้ยว ก็เชิญตามสบาย
บังอะสัน คุณฟาอิส ผม และคนอื่น ไม่เคยประกาศว่ายึดอิหม่ามอับดุลวะฮาบ หรือยึดอิบนุตัยมียะฮ์ แบบผูกขาดไม่ลืมหูลืมตา


บังอะสันแกบอกไปแล้วว่า

ท่านนบีกล่าวว่า
لا طاعة لمخلوق في معصية الخالق"

ไม่มีการเชื่อฟังมัคลูค ในการฝ่าฝืนต่อพระผู้ทรงสร้าง
[رواه أحمد وصححه السيوطي والألباني]


สรุปสั้นๆ คือ ตามในสิ่งที่ถูกต้องสอดคล้องกับคำสอนศาสนา ครับ
ส่วนที่ไม่ตาม คือ เมื่อเห็นว่า สิ่งนั้นเป็นบิดอะฮ แต่ไม่ได้หมายถึงเป็นปฏิปักษ์ แต่อัลลอฮย่อมเหนือกว่าสิ่งใด


นี่คือจุดยืนของพวกเรา

แต่ใครหว่า บอกจะตามอิหม่ามชาฟีอี แต่ไม่ตามซะแล้ว อ้างอิบนุตัยมียะฮ์เฉยเลย ฮ่าๆๆ

นายมุหัมมัดผู้หิวโหยนี่ จะกินบุญบ้านคนตายให้ได้ ยกฮาดีสสำนวนเท็จมาอ้างว่านบีก็เคยกินบุญบ้านคนตาย วันแรกที่ฝังมัยยิตซะด้วย โกหกใส่นะบียังไม่พอ ยังโกหกใส่อิบนุตัยมียะฮ์อีกว่า

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า


“สำหรับ สิ่งที่ถูกทำขึ้น ให้กับมัยยิด โดยที่ผลบุญก็ถึงมัยยิด โดยมติของปวงปราชน์ และสิ่งที่ถูกทำให้แก่มัยยิดนั้น คือ การทำทาน และอื่นๆ ดังนั้น เมื่อทรัพย์ดังกล่าวที่ทำทานให้กับมัยยิด กับกลุ่มชนที่มีสิทธิ์จะได้รับ(คือบรรดามุสลิมีน) เพื่ออัลเลาะฮ์ตะอาลา โดยที่ไม่ได้มีความต้องการจากพวกเขากับการกระทำ(ทำทาน)เช่นเดียวกัน มันก็เป็นผลประโยชน์ให้กับมัยยิด และอนุญาตให้กับคนเป็น ทำการทำทานแทนมัยยิด โดยมติของปวงปราชญ์" ดู ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 142 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ

อิบนุตัยมียะห์พูดเรื่องการทำศอดะเกาะหรือการบริจาคทานแก่กลุ่มชนที่มีสิทธิ์จะได้รับ มันเกี่ยวอะไรกับการกินบุญบ้านคนตายหว่า ขับรถคันหรูไปสวาปาม เดินชักแถวไปกินกัน คนเหล่านี้คือผู้มีสิทธิ์ได้รับตามอิบนุตัยมียะห์บอกอย่างนั้นหรือ

มั่วๆๆๆ อีกแล้วนายหัวมุหัมมัด ฮ่าๆๆๆ

โกหกใส่นะบียังไม่พอ ดันโกหกใส่อิบนุตัยมียะฮ์อีก
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 2:57 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

นายมุหัมหมัดกล่าวว่า
ถามพวกวะฮาบีย์
หะดิษของท่านญะรีร มันหลุดสายตาของอิบนุตัยมียะฮ์ไปได้อย่างไง ถึงพูดออกมาว่า "สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน
.......................
ตอบ
มุหัมหมัดกำลังลากอิบนุตัยมียะฮ ให้ไปแปะเปื้อนกับพิธีกรรมกินบุญคนตาย 3 วัน 7 วัน
แบบไม่มีอย่างอาย มาดูคำพูดของอิบนุตัยมียะฮ
وأما صنعة أهل الميت طعاماً يدعون الناس إليه : فهذا غير مشروع وإنما هو بدعة ، بل قد قال جرير بن عبدالله رضي الله عنه : " كنا نعد الاجتماع إلى أهل الميت وصنعتهم الطعام للناس من النياحة"
สำหรับการที่ครอบครัวผู้ตายทำอาหาร เชิญผู้คนมานั้น นี้คือ ไม่มีบัญญัติใช้ และความจริงมันเป็น บิดอะฮ แต่ทว่าแท้จริง ญะรีร บุตร อับดุลลอฮ (ร.ฎ)กล่าวว่า “พวกเรานับว่า การชุมนุมกันที่ครอบครัวผู้ตายและพวกเขาทำอาหาร ให้ผู้คนกินกันนั้น เป็นสวนหนึ่งจาก นิยาหะฮ – ดู مجموع الفتاوي" (24/316
ขอแถมคำพูดอิบนุกอ็ยยิม ลูกศิษย์ของท่าน ได้กล่าวว่า
وكان من هديه صلى الله عليه وسلم تعزية أهل الميت ، ولم يكن من هديه أن يجتمع للعـزاء ويقرأ له القرآن لا عند قبره ولا غيره ، وكل هذا بدعة حادثة مكروهة
และปรากฏว่า ส่วนหนึ่งจาก ทางนำของท่านนบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม นั้น คือ การปลอบใจครอบครัวผู้ตาย และไม่ได้เป็นทางนำของท่านนบี คือ การชุมนุมกันเพื่อปลอบใจ และ ได้มีการอ่านอัลกุรอ่านกัน ให้แก่มัยยิต ไม่ว่าจะอ่านกันที่กุบูร และที่อื่นจากนั้นก็ไม่ใช่ทางนำ และทั้งหมดนี้ เป็นบิดอะฮ ที่เกิดขึ้นใหม่ ที่น่ารังเกียจ –
زاد المعاد في هدي خير العباد لابن القيم ( 1 / 527 ) تحقيق / شعيب الأرناؤط و عبدالقادر الأرنؤط
.......................
คุณมุหัมหมัด ครับ พวกเราไม่ใช่เป็นคนคลั่งและผูกติดแน่น กับอุลามาอ คนหนึ่งคนใดเหมือนอย่างพวกคุณ แต่เราจะยอมรับในทัศนะของเขา ที่มีการอ้างอิงหลักฐานเท่านั้น อีกอย่าง พวกคุณ มีอะกีดะฮ ว่ามัซฮับเสมือนรุกุนอีหม่าน ที่ต้องศรัทธา อย่างไม่ลืมหูลืมตา จนถึงขนาด คำว่า”อุศอ็ลลี” ก็ยังเป็นสุนัต ทั้งที่เป็นเพียง ทัศนะ เท่านั้น โดยไม่ได้มีแบบอย่างของท่านนบี พวกคุณควรจะทำความเข้าใจ หลักศรัทธา ข้อที่ 4 เสียใหม่ มิเช่นนั้น พวกคุณไม่มีวันเข้าถึงแก่นของศาสนาหรอกครับ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
มุหัมมัด
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 06/11/2005
ตอบ: 210


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 3:33 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

นายอะดีล(แต่เขาซอลิมกับเราเหมือนกับน้องอัลอัซฮะรีย์ว่าไว้) การเลี้ยงอาหารเป็นทานนั้น มันไม่ใช่ซอดาเกาะฮ์ หรือครับอะดีลวะฮาเบี้ยวตัวจริง?? การทำซอดาเกาะฮ์เป็นทาน "เป็นการทำบุญ" หรือทำบาปนายอะดีล แล้วเราเรียกว่าการเลี้ยงอาหารเป็นทานนั้น คือ "การทำบุญ" นั้นผิดตามภาษาไทยหรือครับนายอะดีล แต่การเลี้ยงอาหารเป็นทาน เป็นการ "ทำบาปบิดอะฮ์ตกนรก" ตามทัศนะของวะฮาบีย์ครับท่านพี่น้อง ฮ่าๆๆ ของดีๆของประเสริฐๆ เช่น การซิกิรอย่างเป็นพิธีมีระเบียบเรียบร้อย เช่น การอ่านอัลกุรอาน การกล่าวลาอิลาฮะอิลลัลลอฮ์ การอิสติฆฟาร การดุอา หากทั้งหมดสิ่งดีๆประเสริฐๆเหล่านี้ นำมาทำรวมกันโดยไม่ขัดกับหลักการของศาสนา ผลลัพท์ออกมา เป็น "บิดอะฮ์นรก" ตามทัศนะของวะฮาบีย์ครับท่านพี่น้อง ขอให้วะฮาบีย์จำเริญ...ครับ..

เรื่องที่นายอะดีลว่าผมตกนรกเพราะโกหกใส่ท่านนบีนั้น อย่าสรุปเอาเองซินายอะดีล นายเข้าใจหลักเอง แล้วหุกุ่มผมโกหกใส่ท่านนบี หากคุณเชื่ออย่างนั้น สงสัย อิบนุกอยยิม ต้องลงนรกก่อนผมล่ะครับนายอะดีล เพราะไปโกหกใส่โดยเพิ่มเติมหะดิษนบีที่รายงานโดยท่านอะหฺมัดด้วยเหมือนกัน??? เพราะที่คุณกล่าวหาผมนี้ ผมไม่อยากจะยุ่งด้วย ให้น้องอัลฟารูกมาจัดการดีกว่า เพื่อจะได้สั่งสอนคุณเกี่ยวกับมารยาทในการพิจารณาหะดิษ ไม่ใช่เอะอะอะไรก็ให้เตรียมลงนรก แง๊กๆๆ

นายอะดีลเอ๋ย.. ประเด็นที่นายกล่าวหาผมนั้น ผมเองก็จะเงียบๆไป เพราะไม่อยากเอาอิบนุกอยยิมซึ่งเป็นอุลามาอ์ที่วะฮาบีย์ชมชอบมายกประเด็นด้วย ดังนั้น หากจะกล่าวว่าผมโกหกใส่นบี แล้วตกนรกนั้น ก็อย่าลืมเอาอิบนุกอยยิมไปลงนรกพร้อมๆผมด้วยนะครับ แง๊กๆๆ (อะดีลมันงงว่า อิบนุกอยยิมไปโกหกใส่นบีด้วยตอนใหน??) อันนี้ให้น้องๆขอผมจัดให้อะดีลตาสว่างๆ แง๊กๆๆ

มัซฮับอิมามชาฟิอีย์ที่เราตามนั้น คือตามแบบ ญาอิซฺ(เลือกตามโดยสมัครใจ) ไม่ใช่ตามอิมามชาฟิอีย์แบบวายิบ(จำเป็นต้องตามแบบผูกขาด) นั่นคือสิ่งที่เราได้ชี้แจงพวกวะฮาบีย์ไปมากต่อมากเลย แต่พวกวะฮาบีย์ทำเป็นพวกวะฮาเบี้ยว ไม่ยอมเข้าใจหลักการตามมัซฮับ และการตามมัซฮับนั้น เราก็ไม่ไปว่ามัซฮับอื่นที่ต่างกับเราว่า"ทำบิดอะฮ์" เหมือนกับที่พวกวะฮาบีย์มันทำกันในปัจจุบัน เพราะพฤติกรรมอย่างนี้ มันไม่มีแบบฉบับของสะลัฟ และเป็นการกระทำของพวกบิดอะฮ์วะฮาบีย์

นายอะดีลกล่าวว่า

อิบนุตัยมียะห์พูดเรื่องการทำศอดะเกาะหรือการบริจาคทานแก่กลุ่มชนที่มีสิทธิ์จะได้รับ มันเกี่ยวอะไรกับการกินบุญบ้านคนตายหว่า ขับรถคันหรูไปสวาปาม เดินชักแถวไปกินกัน คนเหล่านี้คือผู้มีสิทธิ์ได้รับตามอิบนุตัยมียะห์บอกอย่างนั้นหรือ

ผมขอตอบว่า

ท่านผู้อ่านครับ ไอ้กระผมนั้น อุตาสาห์ ทำอักษรสีและทำให้อักษรใหญ่ขึ้น เพื่อเน้นประเด็นในการถาม แต่นายอะดีล ลื่นไหลเลี่ยงที่จะตอบมันครับ แต่เท่าที่นายอะดีลตอบแบบข้างๆคูๆมานั้น มันเป็นคำตอบของผู้ที่ไม่เข้าใจศาสนา การบริจาคทานนั้น มีทั้งวายิบและสุนัต ทานวายิบ เช่น ซะกาต ก็ให้กับผู้ที่มีสิทธิ์ที่รับทานวายิบนั้นได้ แต่การทำทาน(ศอดาเกาะฮ์สุนัต) นั้น ผู้ที่มีสิทธิ์ยิ่งคือ บรรดามุสลิมมีน ไม่ว่าจะเป็นคนรวยหรือคนจน ก็มีสิทธิ์ที่จะได้รับการซอดาเกาะฮ์ได้ และก็มีหะดิษมายืนยันในการอนุญาติให้ทานซอดาเกาะฮ์ เช่นการเลี้ยงอาหารเป็นทาน แก่คนรวยและคนจนได้เช่นกัน ดังนั้น ทานวายิบ และสุนัต ก็สามารถทำแทนผู้ตาย และทำให้กับผู้ตายได้อย่างไม่ต้องสงสัย หากเป็นพ่อแม่ก็ได้รับโดยตรง และหากเป็นผู้อื่นก็ได้รับผลบุญเช่นเดียวกัน

การกล่าวอ้างอิบนุตัยมียะฮ์นั้น เราไม่ใช่เพื่อที่จะมาสนับสนุนแนวทางของเรา เนื่องจากเรามีหลักฐานชัดเจนและอธิบายไปชัดเจนแล้ว แม้วะฮาบีย์มันจะไม่รับฟังก็ตาม แต่เราเอาคำวินิจฉัยของอิบนุตัยมียะฮ์มาอ้างอิงนั้น สำหรับเป็นหลักฐานให้กับพวกวะฮาบีย์ อิบนุตัยมียะฮ์บอกว่าไม่เป็นบิดอะฮ์ไม่หะรอม แต่เวลาพวกเราทำ วะฮาบีย์กลับบอกว่าหะรอมบิดอะฮ์ แปลกแต่จริง..

พี่น้องทั้งหลายครับ นั่นคือคำตอบของนายอะดีลที่ในแก่ต่างให้อิบนุตัยมียะฮ์ แต่อีกคำพูดหนึ่งของอิบนุตัยมียะฮ์นั้น วะฮาบีย์ทั้งหมดในกระทู้นี้ กลายเป็นวะฮาเบี้ยว ไม่ยอมตอบ คือ
ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวอีกว่า (ขอยกเป็นภาษาไทยเลยนะครับ เพราะคร้านจะยกเป็นอาหรับ)

وأما الأكل من الطعام ، فان كان قد صنعه الوارث من ماله لم يحرم الأكل منه..إلخ

“ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน และหาก(ทำทาน)สิ่งที่ถูกทำขึ้น จากมรดของมัยยิดโดยที่มัยยิดเองยังมีหนี้อยู่ที่ยังไม่ได้ชดใช้และมัยยิดก็มีทายาทที่เป็นเด็กที่ดังกล่าวเป็นสิทธิของพวกเขานั้น ก็จะกินไม่ได้ “ ดู ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 143 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ


เราขอสนทนาวิจารณ์กับวะอาบีย์ ถึง ท้ศนะของอิบนุตัยมียะฮ์กันสักหน่อยครับ อิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า " “ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน.."

ถามพวกวะฮาบีย์

หะดิษของท่านญะรีร มันหลุดสายตาของอิบนุตัยมียะฮ์ไปได้อย่างไง ถึงพูดออกมาว่า "สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมัน" ???

หรือว่าหะดิษของท่านญะรีรนั้น บรรดาอุลามาอ์และอิบนุตัยมียะฮ์ ไม่ได้เข้าใจเหมือนกับที่วะฮาบีย์เข้าใจ???

หากทายาทของมัยยิด ทำการรวบรวมเงินของพวกเขาเอง แล้วไปทำเลี้ยงอาหารเป็นทานให้แก่มัยยิดนั้น เป็นบิดอะฮ์ตามทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์หรือไม่??? เป็นสิ่งที่หะรอมหรือไม่??

แล้วอิบนุตัยมียะฮ์เข้าใจหลักการนี้ว่าอย่างไร?? หรือว่าอิบนุตัยมียะฮ์มีหลักการที่บิดอะฮ์ตามทัศนะของวะฮาบีย์ ที่ทายาทไปเลี้ยงอาหารทำทาน??

หมายเหตุ... เราพิจารณาทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์เท่านั้น และเราก็ไม่ได้นำมาเพื่อสนับสนุนแนวทางของเราด้วย แต่เราจะถามพวกวะฮาบีย์เกี่ยวกับทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์นี้ โปรดวะฮาบีย์ช่วยแก่ต่างและชี้แจงใหลลื่น ให้กับอิบนุตัยมียะฮ์ดว้ยนะครับ

ว่างๆจะเข้ามาทวงคำถาม .....เพื่อดัดนิสัยวะฮาเบี้ยว ที่ไม่ยอมตอบคำถามของคนอื่น...ขอเผ่นก่อนนะ ไปล่ะ


Laughing Laughing Laughing Laughing Laughing Laughing Laughing Confused Confused Confused Confused Confused Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Very Happy Rolling Eyes Rolling Eyes

_________________
ต่อต้านวะฮาบีย์บิดอะฮ์พันธ์ใหม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
adeel
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 02/06/2004
ตอบ: 172


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 5:58 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

นายมุหัมมัด กล่าวว่า

เราพิจารณาทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์เท่านั้น และเราก็ไม่ได้นำมาเพื่อสนับสนุนแนวทางของเราด้วย

และเราก็ไม่พิจารณาทัศนะอิหม่ามชาฟีอีด้วยเช่นกัน เพราะเราไม่ตาม ฮ่าๆๆๆ แต่เราลงทุนยัดใส้ฮาดีสเพื่อเป็นหลักฐานว่า นบีก็กินบุญบ้านคนตาย วันที่ฝังมัยยิตซะด้วย

แต่เราจะถามพวกวะฮาบีย์เกี่ยวกับทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์นี้ โปรดวะฮาบีย์ช่วยแก่ต่างและชี้แจงใหลลื่น ให้กับอิบนุตัยมียะฮ์ดว้ยนะครับ

ผิดแล้วละนายมุหะหมัด พวกเราไม่เคยมีใครประกาศว่า สังกัดอิบุนตัยมียะฮ์แบบผูกขาด และไม่เคยรับรองว่า ทัศนะอิบนุตัยมียะฮ์ถูกทั้งหมด บังอะสันบอกไว้แล้วไงว่า

ตามในสิ่งที่ถูกต้องสอดคล้องกับคำสอนศาสนา ครับ
ส่วนที่ไม่ตาม คือ เมื่อเห็นว่า สิ่งนั้นเป็นบิดอะฮ แต่ไม่ได้หมายถึงเป็นปฏิปักษ์ แต่อัลลอฮย่อมเหนือกว่าสิ่งใด


นี่คือจุดยืนของเรา ไม่อ่านหรือไง ฉะนั้นถ้าอิบนุตัยมียะฮ์แสดงทัศนะไม่ถูกต้อง เราจะแก้ตัวแก้ต่างให้ทำไม ผิดหวังละซินายมุหะมัดเอ้ย..แต่เอ..คำของอิบนุตัยมียะฮ์ต้นหลังนี้ยกมามันด้วนๆ ชอบกล หมกอะไรไว้อะเปล่า อั่นแน่...

นายมุหะมัด กล่าวว่า

เรื่องที่นายอะดีลว่าผมตกนรกเพราะโกหกใส่ท่านนบีนั้น อย่าสรุปเอาเองซินายอะดีล

เฮ้ย..ผมไม่ได้ว่าเองครับ แต่นะบีว่าไว้ว่า

ผู้ใดเจตนาโกหกต่อฉัน จงเตรียมที่นั่งสำหรับเขาในนรก

ก็เมื่อฮะดีษในต้นฉบับมันไม่มี สำนวนที่นายมุหะมัดยกมา ก็รู้ทั้งรู้ว่าเติมคำ เปลี่ยนความหมาย ยังดันทุรัง แล้วบอกว่า

สงสัย อิบนุกอยยิม ต้องลงนรกก่อนผมล่ะครับนายอะดีล เพราะไปโกหกใส่โดยเพิ่มเติมหะดิษนบีที่รายงานโดยท่านอะหฺมัดด้วยเหมือนกัน

นั่นแน่..ยอมรับแล้วหรือไงว่าผิด แต่ข้าผิด อิบนุกอยยิมก็ผิดด้วย ขอเอี่ยวด้วยว่างั้นเถอะ ฮ่าๆๆๆ แง๊กๆๆ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 8:38 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

นายมุหัมหมัด สังกัดมัซฮับชาฟิอี ปลอม กล่าวว่า
แล้วอิบนุตัยมียะฮ์เข้าใจหลักการนี้ว่าอย่างไร?? หรือว่าอิบนุตัยมียะฮ์มีหลักการที่บิดอะฮ์ตามทัศนะของวะฮาบีย์ ที่ทายาทไปเลี้ยงอาหารทำทาน??
หมายเหตุ... เราพิจารณาทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์เท่านั้น และเราก็ไม่ได้นำมาเพื่อสนับสนุนแนวทางของเราด้วย แต่เราจะถามพวกวะฮาบีย์เกี่ยวกับทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์นี้ โปรดวะฮาบีย์ช่วยแก่ต่างและชี้แจงใหลลื่น ให้กับอิบนุตัยมียะฮ์ดว้ยนะครับ
ว่างๆจะเข้ามาทวงคำถาม .....เพื่อดัดนิสัยวะฮาเบี้ยว ที่ไม่ยอมตอบคำถามของคนอื่น...ขอเผ่นก่อนนะ ไปล่ะ
...........................................
ตอบ
อิบนิตัยมียะฮ เข้าใจหะดิษญะรีร ครับ มาอ่านซิครับนายมุหัมหมัด
มุหัมหมัดกำลังลากอิบนุตัยมียะฮ ให้ไปแปะเปื้อนกับพิธีกรรมกินบุญคนตาย 3 วัน 7 วัน
แบบไม่มีอย่างอาย มาดูคำพูดของอิบนุตัยมียะฮ

وأما صنعة أهل الميت طعاما يدعون الناس إليه، فهذا غير مشروع وإنما هو بدعة، بل قد قال جرير بن عبد الله‏whistling#8207; كنا نعد الاجتماع إلى أهل الميت، وصنعتهم الطعام للناس من النياحة‏

สำหรับการที่ครอบครัวผู้ตายทำอาหาร เชิญผู้คนมานั้น นี้คือ ไม่มีบัญญัติใช้ และความจริงมันเป็น บิดอะฮ แต่ทว่าแท้จริง ญะรีร บุตร อับดุลลอฮ (ร.ฎ)กล่าวว่า “พวกเรานับว่า การชุมนุมกันที่ครอบครัวผู้ตายและพวกเขาทำอาหาร ให้ผู้คนกินกันนั้น เป็นสวนหนึ่งจาก นิยาหะฮ – ดู مجموع الفتاوي" (24/316

อิบนุตัยมียะฮ กล่าวอีกว่า
وإنما المستحب إذا مات الميت أن يُصْنَع لأهله طعام‏.‏ كما قال / النبي صلى الله عليه وسلم ـ لما جاء نعي جعفر بن أبي طالب ـ‏whistling#8207; ‏(‏اصنعوا لآل جعفر طعاماً، فقد أتاهم ما يشغلهم‏)‏‏.
และที่จริง สิ่งที่ชอบให้กระทำ คือ เมื่อ มัยยิตได้ตายลง ให้มีการทำอาหารให้แก่ครอบครัวของเขา ดังที่ท่านนบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวเอาไว้เมื่อข่าวการเสียชีวิตของยะอฺฟัร บุตร อบีฏอลิบ ว่า “พวกท่านจงทำอาหารให้แก่ครอบครัวยะอฺฟัร แท้จริง สิ่งทีททำให้พวกเขามีความทุกข์ ได้มาประสบกับพวกเขา –
مجموع الفتاوي" (24/316
.................................
อิบนุตัยมียะฮ มีทัศนะสอดคล้องกับท่านอิหมามชาฟิอี เพราะท่านอิหม่ามชาฟิอี (ขออัลลอฮ เมตตาต่อท่าน)กล่าวว่า
وَاُحِبُّ لِجِيْرَانِ الْمَيِّتِ اَوْذِيْ قَرَابَتِهِ اَنْ يَعْمَلُوْا لاَهْلِ الْمَيِّتِ فِىْ يَوْمِ يَمُوْتُ وَلَيْلَتِهِ طَعَامًا مَا يُشْبِعُهُمْ وَاِنَّ ذَلِكَ سُنَّةٌ
และข้าพเจ้าชอบให้เพื่อนบ้านมัยยิตและญาติใกล้ชิดของเขา ทำอาหารให้แก่ครอบครัวผู้ตาย ให้พวกเขากินให้อิ่ม ในวันและคืนที่เขาตาย และแท้จริง ดังกล่าวนั้น เป็นสุนนะฮ........ อัลอุม เล่ม 1 หน้า 247
................
สรุปว่า นอกจากจะเป็นปรปักษ์กับอิบนุตัยมียะฮแล้ว มุหัมหมัดยังแอบอ้าง ว่าตัวเองสังกัดมัซฮับชาฟิอีด้วย ทั้งๆที่ บิดอะฮที่มุหัมหมัดทำ ท่านอิหม่ามชาฟิอีไม่รู้เรื่องด้วยเลย ช่างน่าเวทนาจริง
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
มุหัมมัด
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 06/11/2005
ตอบ: 210


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 9:41 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

หลักจากที่คุณอะสันโกหกมดเท็จใส่อิมามชาฟิอีย์ (ร.ฏ.)แล้ว และคุณอะสันก็เอาหะดิษของท่านฏอวูส ทำบุญเลี้ยงหรือให้อาหารเป็นทาน โยนขยะ และเอาหะดิษเรื่องของท่านอุมัรสั่งเสียให้เลี้ยงอาหาร 3 วัน เขี่ยด้วยเท้ากระเด็นไปข้างทางแล้ว คุณอะสันก็ยกอ้างอิงหลักฐานจากหนังสือของพวกกาเฟร มุชริกีน ที่มีนามว่า นายแปลก สนธิรักษ์ พี่น้องร่วมอุดุมการณ์ของคุณอะสัน ในการเอามาโต้หักล้าง หลักฐานการกระทำของบรรดาซอฮาบะฮ์ และคำสั่งเสียของท่านอุมัร!!! พูดง่ายๆก็คือ คุณอะสันเจอทางตันไปใหนไม่รอด เมื่อก่อนบอกจะตามสะลัฟ จะตามคอลิฟะฮ์ผู้ทรงธรรม แต่ตอนนี้กูไม่เอาแล้ว เพราะว่ามันไม่ตรงกับอารมณ์ของกูจะเอา ว่างั้นเถอะ จงจำเริญเถิดคุณอะสัน...!!! แง๊กๆ

และที่ซอฮาบะฮ์เลี้ยงอาหารเป็นทาน 7 วันนั้น พวกเขาตามพุทธ ตามฮินดูหรือเปล่า ??? การที่ท่านอุมัรสั่งให้ทำอาหารเลี้ยง 3 วันนั้น เป็นการตามฮินดู ตามพุทธหรือเปล่าคุณอะสัน ??? คำถามนี้จะตอบได้หรือเปล่าครับคุณอะสัน ?? หากคุณตอบว่า ซอฮาบะฮ์ทำทานเลี้ยงอาหาร 7 วันเพราะตาม พุทธและฮินดูนั้น คุณอะสันไปกล่าวกะลีเมาะฮ์ใหม่น่ะ และหากคุณอะสันกล่าวว่า ท่านอุมัรสั่งให้เลี้ยงอาหารสามวันเป็นการตามพุทธและฮินดูนั้น คุณอะสันกลับไปกล่าวกะลิเมาะฮ์ใหม่นะ


ท่านผู้อ่านครับ คุณอะสันได้อ้างอิงจากหนังสือของอุลามาอ์มัซฮับอิมามชาฟิอีย์ สี่ ห้า ท่าน ซึ่งทั้งหมดนั้น มีทัศนะที่ตรงกัน อ้างไปกี่คนๆก็ไม่มีอะไรใหม่ ดังนั้น การที่ผมจะทำการอ้างอิงทีละหลักฐานที่อะสันอ้างมานั้น ผมคงไม่ทำ แต่ผมจะอธิบายโต้ตอบ และสร้างความเข้าใจ กับหลักฐานต่างๆที่คุณอะสันยกมาทั้งหมดโดยรวม ตามแนวทางของอุลามาอ์มัซฮับชาฟิอีย์นะครับ เรามาเข้าเรื่องกันเลยครับ


คุณอะสันก็กลับมาสนทนาแบบไม่เข้าใจอีกเหมือนเคย แล้วเข้าใจแบบหลอกลวงผู้อ่าน (หลังจากที่โกหกและลวงวะฮาบีย์ด้วยกันเองมาแล้ว) แล้วก็มาเหมาเอาว่า ไอ้ที่บ้านเรากันนั้น มันอยู่ข่ายกับ สิ่งที่บิดอะฮ์ตกนรก มันเป็นไว้อาศัยโศกเศร้า และอีกสารพัดอย่าง ที่คุณอะสันจะกุเสกสรรค์ปั้นแต่งให้พวกพี่น้องมุสลิมในเมืองไทย โดยให้เข้าอารมณ์ที่ตัวเองจะเอา ซึ่งการกระทำของคุณอะสันนั้น ไม่ใช่เพื่ออะไรหรอกครับ ก็แค่อยากหุกุ่มพวกที่ไม่ใช่วะฮาบีย์ทำบิดอะฮ์ตกนรกเท่านั้นเอง เพราะถ้าหากคุณอะสันหวังดีกับพี่น้องมุสลิมจริงๆแล้ว คุณอะสันคงต้องรับฟังพวกเราบ้างล่ะครับ หรือคุณอะสันคงยอมเข้าใจและแยกประเด็นในสิ่งที่เราชี้แจงบ้างแหละครับ แต่นี่คุณอะสันไม่ยอมเข้าใจ ทำบอด ทำหูหนวก เอาบรรดานิ้วอุดหูตัวเอง แล้วบอกว่า ข้างงงวยไม่เข้าใจในสิ่งที่เราอธิบายชี้แจงเว้ย..

สิ่งที่เราเข้าใจตรงกันบรรดามัซฮับก็คือ "การที่ผู้คนมารวมตัวกันโดยไว้อาลัยและปลอบใจที่บ้านครอบครัวมัยยิดและครอบมัยยิดก็ทำอาหารเลี้ยงบริการนั้น" ย่อมเป็นบิดอะฮ์ที่มักโระฮ์ คือบิดอะฮ์ที่ไม่สมควรกระทำแต่หากทำก็ไม่เป็นโทษหรือเป็นบิดอะฮ์ที่ไม่ทำนั้นดีแต่หากทำก็ไม่เป็นโทษ" นั่นคือความเข้าใจของบรรดามัซฮับ แต่พวกวะฮาบีย์บอกว่ามันเป็นบิดอะฮ์ที่ลุ่มหลงตกนรกนั้น ผมไม่ทราบว่าพวกเขาไปเข้าใจและทำการอุตริหุกุ่มขึ้นแบบนี้มาจากบรรดาสะลัฟท่านใหน??

ในหนังสือ อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน กล่าวระบุไว้ว่า

ويكره لأهل الميت الجلوس للتعزية ، وصنع طعام يجمعون الناس عليه ، لما روى أحمد عن جرير بن عبد الله الجبلى ، قال : كنا نعد الإجتماع إلى أهل الميت وصنعهم الطعام بعد دفنه من النياحة...ويستحب لجيران أهل الميت...أن يصنعوا لأهله طعاما يكفيهم يوما وليلة ، وأن يلحوا عليهم فى الأكل . ويحرم صنعه للنائحة، لأنه إعانة على معصية

"มักโระฮ์(ไม่ทำดีแต่หากทำก็ไม่เป็นไร) สำหรับครอบครัวมัยยิด กับการนั่งเพื่อให้ทำการปลอมใจ และ(ครอบครัวมัยยิด)ทำอาหารโดยที่พวกเขาทำการรวมผู้คน(ที่มาไว้มาปลอบใจ)มารับประทานอาหาร เพราะมีร่องรอยที่รายงานโดย ท่านอะหฺมัด จากท่าน ญะรีร บิน อับดิลลาฮ์ อัล-ญะบะลีย์ เขากล่าวว่า เราถือว่า การรวมตัวไปยังบ้านมัยยิดและการที่ครอบมัยยิดทำอาหารหลังจากฝังมัยยิดแล้วนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากการไว้อาลัย.....และสุนัติให้กับเพื่อนบ้านของครอบครัวมัยยิด กับการทำอาหารให้แก่ครอบครัวมัยยิด ให้เพียงพอกับพวกในวันหนึ่งและคืนหนึ่ง และทำการคะยั้นคะยอให้พวกเขารับประทาน และหะรอมทำอาหารแก่หญิงที่ทำการคร่ำครวญไว้อาลัย เพราะมันเป็นการช่วยเหลือกับสิ่งที่ฝ่าฝืน " ดู เล่ม 2 หน้า 227 ดารุลฟิกรฺ

ผู้อ่านลองมาพิจารณาดูสิ่งที่เราได้เคยชี้แจงไปนะครับ ซึ่งมันแตกต่างจากสิ่งดังกล่าว คือ

1. เมืองไทยบ้านเรานั้น บรรดาพี่น้องมุสลิมได้ช่วยเหลือครอบมัยยิดและช่วยทำอาหารแก่ครอบมัยยิด ไม่ว่าจะทำเลี้ยง 1 วันตามที่ท่านร่อซูลุลลเลาะฮ์(ซ.ล.)ส่งเสริม และช่วยทำอาหารเลี้ยงเป็นทานแก่มัยยิด 3 วัน ตามที่ท่านอุมัรสั่งเสีย หรือ 7 วัน ตามที่บรรดาซอฮาบะฮ์ชอบที่จะกระทำ

2. การทำบุญเลี้ยงอาหารที่เมืองไทยบ้านทำนั้น เพื่อมีเป้าหมายเป็นทานศอดะเกาะฮ์ให้กับมัยยิดแก่ผู้ที่ถูกเชิญมาโดยที่พวกเขาทำการขอดุอาอ์ อ่านอัลกุรอาน อิสติฆฟารให้แก่มัยยิด ไม่ใช่ทำอาหารเพื่อบริการแก่ผู้ที่มาทำการปลอมใจหรือ"ไว้อาลัยตามที่วะฮาบีย์พยายามเข้าใจกันเพื่อจะจ้องหุกุ่มพี่น้องมุสลิมด้วยกัน"

แล้วรูปแบบใดล่ะ ที่ถือว่าเป็นการไว้อาลัยโดยที่สามารถผนวกเข้าไปอยู่ในคำกล่าว ของท่าน ญะรีร บิน อับดิลลาฮ์ ในหนังสือ อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน ได้รูปแบบของอาหรับเอาไว้ว่า

فى العرف الخاص فى بلدة لمن بها من الأشخاص إذا إنتقل إلى دار الجزاء وحضر معارفه وجيرانه العزاء، جرى العرف بأنهم ينتظرون الطعام، ومن غلبة الحياء على أهل الميت يتكلفون التكليف التام، ويهيئون لهم أطعمة عديدة، ويحضرونها لهم بالمشقة الشديدة

"ในประเพณีที่เฉพาะ ในเมืองหนึ่ง ให้กับบรรดาบุคคลต่างๆที่อยู่เมืองนั้น คือ เมื่อมีผู้ที่กลับไปสู่โลกแห่งการตอบแทน(กลับไปสู่ความเมตตาของอัลเลาะฮ์) โดยที่บรรดาคนรู้จักและบรรดาเพื่อนบ้านก็มากัน(ที่บ้านครอบครัวมัยยิด)เพื่อจะทำการปลอบใจ ประเพณีนั้นก็มีอยู่ว่า พวกเขาเหล่านั้นก็ได้รอรับอาหารกัน และจากความละอายอย่างยิ่งที่มีต่อครอบครัวมัยยิดนั้น พวกเขาจึงรับภาระในการใช้จ่ายแบบเสร็จสรรพ แล้วครอบครัวมัยยิดก็ทำการตระเตรียมอาหารให้แก่พวกเขาหลายอย่าง และครอบครัวมัยยิดก็นำอาหารเหล่านั้นมาให้กับพวกเขาด้วยความลำบากอย่างมาก" ดู เล่ม 2 หน้า 228

เมื่อเราอ่านมันอย่างเข้าใจแล้ว เราจะเห็นถึงความแตกต่าง จากสิ่งที่เมืองไทยบ้านเรากระทำ และบรรดาผู้รู้มัซฮับชาฟิอีย์บ้านเรา ก็เข้าใจในตำราของพวกเขา ว่าหลักการนั้นมันเป็นอย่างไร ? ซึ่งคนเมืองไทยบ้านเรานั้น เมื่อมีพี่น้องมุสลิมเสียชีวิต พวกเขาก็จะมาเยี่ยมมัยยิด โดยนำเงินมาซอดาเกาะฮ์ช่วยเหลือแก่ครอบครัวมัยยิด ไม่ใช่มานั่งรออาหารจากครอบมัยยิด หรือรุมกิน (อย่างที่วะฮาบีย์จ้องจะเข้าใจเพื่อกล่าวร้ายหุกุ่มต่อพี่น้องมุสลิม ) ตอนมาเยี่ยมมัยยิดก็ทำการช่วยเหลือเป็นเงินซอดาเกาะฮ์แล้วครับ และก็มีเงินช่วยเหลือที่เป็นระบบสมาชิกอีกเป็นหมื่น ที่บรรดาพี่น้องมุสลิมสมัครใจช่วยเหลือกัน แล้วบรรดาพี่น้องมุสลิมก็นำเงินเหล่านั้นมาซื้ออาหารและช่วยกับปรุงให้แก่ครอบครัวมัยยิด ในวันแรก ตามที่ท่านร่อซูล(ซ.ล.)ส่งเสริม และอีก 3 วันโดยตามท่านอุมัร หรือ 7 วันโดยตามบรรดาซอฮาบะฮ์ ซึ่งดังกล่าวนั้น หากครอบครัวมัยยิดอนุญาติให้บรรดาพี่น้องมุสลิมช่วยทำอาหารให้แก่ครอบครัวมัยยิดเพื่อเป็นทานสำหรับมัยยิด โดยเชิญพี่น้องมุสลิมมารับประทานอาหารเพื่อเป็นทานแก่มัยยิด ไม่ใช่เชิญมาเพื่อทำการปลอบใจหรือไว้อาลัยแต่อย่างใด และในเมืองไทยนั้น พี่น้องมุสลิมไม่มีใครใจดำนั่งรอครอบครัวมัยยิดทำอาหารให้หรอกครับ พวกวะฮาบีย์ทั้งหลายโปรดทราบด้วย และพวกวะฮาบีย์โปรดทราบด้วยว่า บรรดาพี่น้องมุสลิมบ้านเราไม่ใจดำปล่อยให้มัยยิดต้องทำอาหารเพียงลำพังโดยปล่อยให้ครอบมัยยิดออกค่าใช้จ่ายกันเองหรอก และความจริงที่เกิดขึ้นก็คือบรรดาพี่น้องมุสลิมให้การช่วยเหลือและปรุงอาหารให้อย่างไม่ทอดทิ้งและนิ่งดูดาย ดังนั้น สิ่งที่วะฮาบีย์ชอบยกเมฆมาเพื่อจะโจมตีพี่น้องมุสลิมเพื่อกล่าวหาบิดอะฮ์ลงนรกนั้นคงเป็นมุกเก่าๆที่เราต่างรู้ดีครับ

ผมจะเล่าเหตุการณ์หนึ่งให้ฟัง ซึ่งไม่บังคับวะฮาบีย์ให้เชื่อ

ปู่ของน้องอัลฟารูก ซึ่งเป็นคนที่อาเล็มใหญ่ มีลูกศิษย์มากมาย ได้เสียชีวิต ก็ได้รับการช่วยเงินที่พี่น้องมุสลิมที่ร่วมเป็นสมาชิกเป็นหมื่นแล้วในวันแรก เพื่อช่วยครอบครัวของปู่น้องเขา และก็มีการทำการเลี้ยงอาหารถึง 7 วันด้วยกัน โดยมีบรรดาหมู่บ้านมุสลิมถิ่นอื่นโทรมาจองวันกันเลยครับ วันแรกก็เป็นของพี่น้องในหมู่บ้านเองแล้วช่วยเหลือกันทำอาหารแก่ครอบมัยยิดและเลี้ยงเป็นทาน วันต่อไปหมู่บ้านถิ่นอื่นที่โทรจองไว้ ก็ช่วยกันทำอาหารแล้วยกคันรถทุกกันมาให้แก่ครอบมัยยิด และวันต่อไปหมู่บ้านถิ่นอื่นก็ช่วยกันทำอาหารของหวานมาให้ครอบครัว จนถึงวันที่ 7 หมู่บ้านที่เป็นลูกศิษย์เอกของปู่น้องอัลฟารูกก็ล้มวัวให้หนึ่งตัวให้แก่ครอบครัวมัยยิด แต่นั่นแหละครับ คนอาเล็มเสียชีวิต ก็สะดวกอย่างนี้แหละ แต่คนธรรมดาก็ต้องว่ากันไปตามที่พี่น้องมุสลิมช่วยเหลือไว้ ดังนั้นพวกวะฮาบีย์ก็อย่าไปร้อนตัวในการกระทำการเกิดขึ้นในหมู่บ้านของน้องอัลฟารูกเลยนะครับ เพราะมันเป็นเรื่องในหมู่บ้านของเขา การที่คุณอะสันได้สนทนากับน้องอัลฟารูกนั้น ก็ถือว่าได้สนทนากับลูกหลานคนอาเล็มแล้วล่ะครับ แล้วเป็นไงครับกับการสนทนากับน้องเขา ล้มลุกคลุกคลาน สมใจอยากหม้ายล่ะ

ท่านอิมามรอมลีย์ได้กล่าวไว้ในหนังสือ นะฮายะตุลมั๊วะตาจญฺ ว่า

ويكره كما فى الأنوار وغيره أخذا من كلام الرافعى والمصنف أنه بدعة لأهله صنع طعام يجمعون الناس عليه قبل الدفن وبعده لقول جرير : كنا نعد ذلك من النياحة، والذبح والعقر عند القبر مذموم للنهى

" และถือว่าเป็นมักโระฮ์ - เสมือนที่ระบุไว้ในหนังสือ อัลอันวารและอื่นๆ - โดยเอามาจาก คำกล่าวของ ท่านอัรรอฟิอีย์และผู้ประพันธ์หนังสือมินฮาจ(คืออิมามนะวาวีย์) ว่า มันเป็นบิดอะฮ์((ที่มักโระฮ์ - ต้องวงเล็บไว้ด้วยครับเกรงว่าวะฮาบีย์จะหลอกฉวยโอกาศไปกล่าวว่าเป็นบิดอะฮ์ที่หะรอมลุ่มหลง เนื่องจากอะสันตัดส่วนหน้าออกไปเพื่อหมกเม็ด และนั่นแหละคืองานของอะสันล่ะครับและการหมกเม็ดของวะฮาบีย์นี้ ก็ไม่ใช่เป็นการอ้างอิงผิดพลาดของวะฮาบีย์หรอกครับ แต่มันเป็นหลักการหนึ่งของวะฮาบีย์ในเชิงปฏิบัติ)) ให้กับครอบครัวมัยยิด ที่ทำอาหารโดยที่ผู้คนก็รวมกันรับประทานอาหารนั้น ไม่ว่าจะก่อนฝังหรือหลังฝังมัยยิด เพราะคำกล่าวของท่านญะรีรที่ว่า "เราถือว่าสิ่งดังกล่าวนั้นเป็นส่วนหนึ่งจากการไว้อาลัย" และการเชือดสัตว์ที่กุบูร ย่อมเป็นสิ่งที่ถูกตำหนิ เป็นได้มีบัญญัติห้ามมัน" ดู เล่ม 3 หน้า 42 ตีพิมพ์ มุสต่อฟา หะละบีย์

วะฮาบีย์ทั้งหลายคงทราบกันนะครับว่า พี่น้องมุสลิมต่างช่วยกันปรุงอาหารให้ ไม่ใช่ครอบมัยยิดทำกันเอง ดังนั้น หากครอบครัวมัยยิดกระทำการเลี้ยงอาหารตามลำพัง ก็เป็นสิ่งที่บิดอะฮ์มักโระฮ์ แต่ยิ่งไปกว่านั้น หากครอบครัวมัยยิดไม่มีความสามารถกระเสือกกระสนจะทำบุญให้ได้ โดยไปกู้ยืมเงินมาทำ ก็ย่อมเป็นสิ่งที่หะรอม เหมือนกับที่น้องอัลฟารูกได้กล่าวไว้ก่อนแล้ว เนื่องจากมันเป็นโทษและสร้างความเดือนร้อนให้แก่ครอบครัวมัยยิดเอง ซึ่งท่าน อัลลามะฮ์ ญะมัล ได้กล่าวไว้ใน บัรหฺ อัลมันฮัจญฺ ว่า

"แต่ทั้งหมดดังกล่าวนั้น อาจกลายเป็นหะรอม หากเอามาจากทรัยพ์ที่ถูกอายัดไว้ หรือจากทรัพย์ที่ใช้หนี้แก่มัยยิด หรือทรัพย์ที่ทำให้เกิดโทษ(เดือนร้อน) และเหมือนกับสิ่งดังกล่าว" ดู อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน เล่ม 2 หน้า 228

พวกวะฮาบีย์ทั้งหลายครับ พวกคุณคงไม่ยกอ้างสิ่งดังกล่าวโดยไปใส่ใคล้แต่พี่น้องมุสลิมบ้านเรานะครับ เพราะมันบาป

ดังนั้น บรรดาพี่น้องมุสลิมต้องให้การช่วยเหลือแก่ครอบมัยยิด ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดก็ตามเท่าที่มีความสามารถ ซึ่งหากครอบครัวมัยยิดกระเสือกกระสนจะทำบุญให้ได้โดยใช้ค่าใช้จ่ายแบบหมดเนื้อหมดตัวและต้องไปกู้มาจนเป็นความเดือดร้อนให้กับตัวพวกเขาเองนั้น เราต้องทำการห้ามปรามและหยุดยั้งครอบครัวมัยยิดเหล่านั้น ซึ่งท่าน อะหฺมัด บิน ซัยนีย์ ดะหฺลาน กล่าวฟัตวาไว้ว่า

"ไม่เป็นที่สงสัยว่า การห้ามผู้คนจากการทำบิดอะฮ์ที่น่าตำหนินี้ เป็นการฟื้นฟูซุนนะฮ์ และทำให้ตายกับบิดอะฮ์(คือการที่ไปรวมตัวกันปลอมใจและรอเลี้ยงอาหารจากครอบครัวผู้ตาย) และเป็นการเปิดประตูแห่งความดี และเปิดประตูแห่งความชั่ว เพราะแท้จริง บรรดาผู้คน(ครอบครัวผู้ตาย) ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากจนอาจจะทำให้การทำอาหารนั้นเป็นสิ่งที่หะรอม" ดู อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน เล่ม 2 หน้า 228

และไอ้ที่บิดอะฮ์น่าตำหนิหรือบิดอะฮ์มักโระฮ์นั้น ด้วยกับหนทางใดหรือที่ถือว่าเป็นการไว้อาลัย เพราะท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลฮัยตะมีย์ ได้กล่าวไว้ว่า

لما صح عن جرير رضى الله عنه "كنا نعد الإجنماع إلى أهل الميت وصنعهم الطعام بعد دفنه من النياحة) ووجه عده من النياحة ما فيه من شدة الإهتمام بأمر الحزن ومن ثم كره اجتماع أهل الميت ليقصدوا بالعزاء

"เพราะว่า มีร่องรอยจากท่านญะรีร(ร.ฏ.) ที่ว่า "เราถือว่าการรวมตัวกันไปยังครอบครัวมัยยิด และครอบครัวมัยิดทำอาหารให้หลังจากฝังมัยยิดแล้วนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากการไว้อาลัยคร่ำครวญ" หนทางที่นับว่ามันเป็น จากการอาลัยคร่ำครวญ คือ สิ่งที่มาจากการให้การความเน้นหนักด้วยสิ่งที่ทำให้โศรกเศร้า และจากดังกล่าวนั้น จึงมักโระฮ์กับการรวมตัวไปยังบ้านมัยยิด อันเนื่องจากเพราะพวกเขาตั้งใจจะไปปลอมใจ" ดู หนังสือตั๊วะหฺ ฟะตุลมั๊วะหฺตาจญฺ เล่ม 3 หน้า 207 ตีพิมพ์ ดาร. เอี๊ยะหฺยา อัตตุร๊อษ อัลอะร่อบีย์
อิบนุตัยมียะฮ

وأما صنعة أهل الميت طعاما يدعون الناس إليه، فهذا غير مشروع وإنما هو بدعة، بل قد قال جرير بن عبد الله‏‏(‏اصنعوا لآل جعفر طعاماً، فقد أتاهم ما يشغلهم‏)‏‏.
และที่จริง สิ่งที่ชอบให้กระทำ คือ เมื่อ มัยยิตได้ตายลง ให้มีการทำอาหารให้แก่ครอบครัวของเขา ดังที่ท่านนบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวเอาไว้เมื่อข่าวการเสียชีวิตของยะอฺฟัร บุตร อบีฏอลิบ ว่า “พวกท่านจงทำอาหารให้แก่ครอบครัวยะอฺฟัร แท้จริง สิ่งทีททำให้พวกเขามีความทุกข์ ได้มาประสบกับพวกเขา –
مجموع الفتاوي" (24/316



แต่คนมุสลิมเมืองไทยบ้านเราไปบ้านครอบครัวมัยยิดไม่ใช่ไปเพื่อปลอบใจนะครับ แต่ไปเพื่อช่วยกันทำอาหารและรับประทานเพื่อเป็นทานแก่มัยยิด

และอ่านไปอีก หนึ่งบรรทัด ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลฮัยตะมีย์ กล่าวต่อว่า

نعم ان فعل لأهل الميت مع العلم بأنهم يطعمون من حضرهم لم يكره وفيه نظر ودعوى ذلك التضمن ممنوعة

" แต่ว่า หาก(อาหาร)ถูกทำให้แก่ครอบครัวมัยยิด พร้อมกับรู้ว่า ครอบครัวมัยยิด จะนำไปเลี้ยงอาหาร กับผู้ที่มาหาพวกเขา ก็ถือว่าไม่มักโระฮ์ และในมัน(คือการทให้แก่ครัวมัยยิด)นั้นถูกพิจารณาก่อน โดยที่การอ้างดังกล่าวเป็นการรวมถึงการนั่งปลอมใจ นั้น ย่อมเป็นสิ่งที่ถูกห้ามเด็ดขาด(กับการอ้างอย่างนั้น)" ดู หนังสือตั๊วะหฺ ฟะตุลมั๊วะหฺตาจญฺ เล่ม 3 หน้า 207 - 208

คุณอะสันครับ มุสลิมเมืองไทยบ้านเรา เขาไปรวมตัวปลอบใจ และ รอรับประทานอาการที่ครอบครัวมัยยิด สี่ห้าคน ทำให้กระนั้นหรือ?? กรุณาโปรดเข้าใจเราบ้าง ไม่ใช่ไม่ยอมฟังไม่ยอมเข้าใจจ้องจะหุกุ่มคนอื่นลูกเดียว อย่างนี้ไม่มีแน่!!!

ดังนั้น การเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทานแก่มัยยิด โดยพี่น้องมุสลิมช่วยกันทำอาหาร และไปร่วมรับประทานเพื่อเป็นทานแก่มัยยิด โดยไม่ใช่ไปนั่งปลอบใจไว้อาลัยนั้น ย่อมกระทำได้ โดยไม่ใช่เป็นบิดอะฮ์ที่ลุ่มหลงตกนรกแต่ประการใด

ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย์ ได้ทำการรายงาน จากท่านอิมามอะหฺมัด โดยที่ท่านอะหฺมัด ได้รายงานไว้ใน หนังสือ อัซซุอฮ์ดฺ ว่า

سفيان قال ، قال طاووس : إن الموتى يفتنون فى قبورهم سبعاَ وكانوا يستحبون أن يطعموا عنهم تلك الأيام

" ท่านซุฟยานกล่าวว่า ท่านฏอวูสกล่าวว่า แท้จริงผู้ตายนั้น พวกเขากำลังถูกสอบถามในกุบูรของพวกเขา ถึง 7 วัน และบรรดาซอฮาบะฮ์มีความชอบที่จะทำการเลี้ยง(ให้)อาหารแทนจากพวกเขา ในเจ็ดวันดังกล่าว" ท่าน ชัยค์ อัลอะซ่อมีย์กล่าวว่า สายรายงานหะดิษนี้ قوى (มีน้ำหนัก) หนังสือ อัลมะฏอลิบ อัลอาลิยะฮ์ บิ ซฺะวาอิด อัลษะมานียะฮ์ เล่ม 1 หน้า 199

ท่านอัล-หาฟิซฺอิบนุ หะญัร อัลฮัยตะมีย์ กล่าวว่า " ได้มีสายรายงานที่ซอฮิหฺเช่นกัน จากท่าน ฏอวูส ว่า บรรดาซอฮาบะฮ์นั้น ได้ทำการเลี้ยง(ให้)อาหารแทนจากมัยยิด ใน 7 วันดังกล่าว และคำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวของตาบิอีย์ ว่าบรรดาซอฮาบะฮ์ได้กระทำสิ่งดังกล่าว และในคำกล่าวของตาบิอีย์นี้ ได้มีอยู่ 2 ทัศนะด้วยกันจากคำกล่าวของนักปราชญ์หะดิษและอุซูลุลฟิกห์

1. คำกล่าวของตาบิอีย์นี้ (คือท่านฏอวูส) อยู่ในบทการรายงานที่ มัรฟั๊วะ คือไปถึงสมัยของท่านนบี(ซ.ล.) ซึ่งความหมายของมันก็คือ บรรดาซอฮาบะฮ์ทั้งหลายได้กระทำการเลี้ยง(ให้)อาหาร ในสมัยของท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) โดยที่ท่านร่อซูลทราบในสิ่งดังกล่าว หรือถูกบอกให้ทราบต่อท่านนบี(ซ.ล.)

2. คำกล่าวของตาบิอีย์นี้ผคือท่านฏอวูส) อยู่ในเรื่องของการอ้างถึงบรรดาซอฮาบะฮ์เท่านั้น โดยไม่ถึงท่านนบี(ซ.ล.) เมื่อเป็นเช่นนี้ ถึงถูกกล่าวว่า คำกล่าวของตาบีอีย์(คือท่านฏอวูส) เป็นการบอกเล่าจากบรรดาซอฮาบะฮ์ทั้งหมด ดังนั้น คำกล่าวของท่านฏอวูสนี้จึงเป็นการ ถ่ายทอดถึงมติของบรรดาซอฮาบะฮ์ และบางทัศนะกล่าวว่า ถ่ายทอดเพียงบางส่วนของซอฮาบะฮ์ ซึ่งเป็นทัศนะที่อิมามอันนะวาวีย์ได้ให้น้ำหนักเอาไว้ใน ชัรหฺมุสลิม และอิมามอัรรอฟิอีย์ ได้กล่าวเช่นเดียวกับคำนี้ ซึ่งจุดมุ่งหมายก็คือ การเลี้ยง(ให้)อาหารนั้น เป็นสิ่งที่แพร่หลายในสมัยของซอฮาบะฮ์ดังกล่าว โดยไม่ได้ถูกตำหนิแต่ประการใด...หากท่านกล่าวว่า เพราะเหตุใด การเลี้ยง(ให้)อาหารถึงต้องทำซ้ำกันถึง 7 วัน โดยที่ไม่ต้องอ่านตัลกีน 7 วัน ฉันขอกล่าวว่า เพราะผลประโยชน์ของการเลี้ยง(ให้)อาหารนั้น มันมีประโยชน์สูงกว่าและแผ่ไปถึงมัยยิดได้มากกว่า เพราะการเลี้ยง(ให้)อาหารแทนจากมัยยิดนั้น เป็น ซ่อดาเกาะฮ์(บริจาคทาน) ซึ่งมันเป็น สุนัติ โดยมติเอกฉันท์... " ดู หนังสือ อัล-ฟะตาวา อัล-ก๊อบรอ อัลหะดีษะฮ์ ของท่านอิบนุหะญัร อัลฮัยตะมีย์ เล่ม 2 หน้า 30 - 31

ท่านผู้อ่านที่เคารพทั้งหลายครับ เรื่องทำอาหารเลี้ยงเป็นทานแก่มัยยิดนั้น น้องนักศึกษาและวะฮาบีย์ก็สนทนากันพอสมควร โดยที่มีหลักฐานทั้งหมดเกี่ยวประเด็นนี้ แค่ 5 หลักฐานเท่านั้นครับ คือ

1. ท่านอิมาม อัตติรมีซีย์ ท่านอัล-หากิม และอื่นจากทั้งสอง รายงานว่า แท้จริงท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวว่า

اصنعوا لأل جعفر طعاماً فقد جاءهم ما يشغلهم

"พวกท่านจงทำอาหารให้แก่ครอบครัวของญะฟัร เพราะแท้จริง ได้มีสิ่งที่ทำให้พวกเขายุ่งอยู่"
หะดิษนี้ ท่านอัตติรมีซีย์กล่าวว่า หะซัน และท่านฮากิมกล่าวว่า หะดิษนี้ ซอฮิหฺ

2. ท่านอิมามอะหฺมัด และท่านอิบนุมาญะฮ์ ได้รายงาน ด้วยสายสืบที่ซอฮิหฺ จากท่าน ญะรีร บิน อับดุลและฮ์ เขากล่าวว่า

كنا نعد الإجتماع إلى أهل الميت وصنعهم الطعام من النياحة

" เราถือว่า การรวมตัวกัน ยัง(บ้าน)ครอบครัวของผู้ตาย และการที่พวกเขาทำอาหารนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากการ คร่ำครวญถึงผู้ตาย"

3. ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ได้กล่าวไว้รายงาน จากท่าน อะหฺมัด บิน มะนีอฺ ซึ่งเขาได้กล่าวรายงานไว้ใน มุสนัดของเขาว่า

عن الأحنف بن قيس قال : كنت أسمع عمر يقول : لا يدخل أحد من قريش فى باب إلا دخل معه ناس ، فلا أدرى ما تأويل قوله حتى طعن عمر فأمر صهيبا أن يصلى بالناس ثلاثا ، وأمر أن يجعل للناس طعاما فلما رجعوا من الجنازة جاءوا وقد وضعت الموائد ، فأسك الناس عنها للحزن الذى هم فيه فجاء العباس بن عبد المطلب ، فقال : ياأيها الناس قد مات...الحديث

" รายงานจากอะหฺนัฟ บิน กัยซฺ เขากล่าวว่า ฉันได้ยินท่านอุมัรกล่าวว่า "คนหนึ่งจากกุร๊อยช์ จะไม่เข้าในประตูหนึ่ง นอกจากว่า ต้องมีผู้คนเข้ามาพร้อมกับเขาด้วย" ดังนั้น ฉันจึงไม่รู้ถึงการตีความคำพูดของท่านอุมัร จนกระทั้ง ท่านอุมัรได้ถูกลอบแทง แล้วท่านอุมัรจึงใช้ให้ ท่านซุฮัยบ์ ทำการนำละหมาด(ญะนาซะฮ์)สามรอบด้วยกัน และท่านอุมัรก็ใช้ให้เขาทำอาหารให้แก่บรรดาผู้คน ดังนั้น ในขณะที่ผู้คนได้กลับมาจาก(ฝัง)ญะนะซะฮ์ พวกเขาก็กลับมา โดยมีบรรดสำหรับอาหารวางอยู่แล้ว แต่บรรดาผู้ตนก็งดที่จะรับประทานนั้น อันเนื่องจากความโศรกเศร้าที่พวกเขาเป็นอยู่ ดังนั้นท่าน อัลอับบาส บิน อบูฏอลิบ ก็มา แล้วกล่าวว่า โอ้บรรดาผู้คนทั้งหลาย แท้จริงท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.)ได้เสียชีวิตไปแล้ว....." สายรายงาน "หะซัน" ดู หนังสือ อัลมะฏอลิบ อัลอาลิยะฮ์ บิ ซฺะวาอิด อัลษะมานียะฮ์ เล่ม 1 หน้า 198 หะดิษที่ 709

4. ท่านอัลบูซิรีย์ กล่าวว่า ในสายรายงานนี้ มี อลี บิน ซัยด์ บิน ญัดอาน และที่สมบูรณ์ของหะดิษนั้น คือ.... ท่าน อัลอับบาส บิน อบีฏอลิบกล่าวว่า

فقال يا أيها الناس قد مات رسول الله عليه وسلم فأكلنا بعده وشربنا ومات أبو بكر فأكلنا بعده وشربنا أيها الناس كلوا من هذا الطعام فمد يده ومد الناس أيديهم فأكلوا فعرفت تأويل قوله ) كذا فى الإتحاف

" ดังนั้น ท่านอัล-อับบาส บิน อับดุลมุฏฏอลิบกล่าวว่า โอ้บรรดาผู้คนทั้งหลาย แท้จริง ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) ก็ได้เสียชีวิตไปแล้ว แล้วเราก็ทำการรับประทานและดื่มหลังจากนั้น และท่านอบูบักร ก็ได้เสียชีวิตไปแล้ว และเราก็ทำการรับประทานและดื่มหลักจากนั้น โอ้บรรดาผู้คนทั้งหลาย พวกท่านจงรับประทานจากอาหารนี้เถิด ดังนั้น ท่านอับบาสก็ยื่นมือของท่าน และบรรดาผู้คนที่ยื่นมือของพวกเขา แล้วก็พวกเขาก็ทำการรับประทาน ดังนั้น ฉัน (คือ อัลอะหฺนัฟ บิน ก๊อยซฺ) จึงรู้การตีความคำพูดของท่านอุมัร" และได้รายงานเช่นเดียวกันนี้ อยู่ในหนังสือ อัลอิตหาฟ " ดู หนังสือ อัลมะฏอลิบ อัลอาลิยะฮ์ บิ ซฺะวาอิด อัลษะมานียะฮ์ เล่ม 1 หน้า 198 - 199

5. ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย์ ได้ทำการรายงาน จากท่านอิมามอะหฺมัด โดยที่ท่านอะหฺมัด ได้รายงานไว้ใน หนังสือ อัซซุอฮ์ดฺ ว่า

سفيان قال ، قال طاووس : إن الموتى يفتنون فى قبورهم سبعاَ وكانوا يستحبون أن يطعموا عنهم تلك الأيام

" ท่านซุฟยานกล่าวว่า ท่านฏอวูสกล่าวว่า แท้จริงผู้ตายนั้น พวกเขากำลังถูกสอบถามในกุบูรของพวกเขา ถึง 7 วัน และบรรดาซอฮาบะฮ์มีความชอบที่จะทำการเลี้ยง(ให้)อาหารแทนจากพวกเขา ในเจ็ดวันดังกล่าว" ท่าน ชัยค์ อัลอะซ่อมีย์กล่าวว่า สายรายงานหะดิษนี้ قوى (มีน้ำหนัก) หนังสือ อัลมะฏอลิบ อัลอาลิยะฮ์ บิ ซฺะวาอิด อัลษะมานียะฮ์ เล่ม 1 หน้า 199

ทั้ง 5 หลักฐานนี้ เราจะเอาแค่หลักฐานที่ 1 และหลักฐานที่ 2 โดยทิ้งหลักฐาน ที่ 3 ที่ 4 และหลักฐานที่ 5 โดยไม่แยแสสนใจ และเอาหลักฐานที่ 1 และ 2 ไปหุกุ่มใส่ผู้อ่าน ว่าทำบิดอะฮ์ตกนรก นั้น คงไม่ใช่หลักการของอิสลามอย่างแน่นอนครับ เราต้องตั้งคำถามว่า เมื่อมีหลักฐานเหล่านี้ เราจะทำอย่างไรดี? การวินิจฉัยหลักฐานต่างๆเหล่านี้ ให้อยู่ในกรอบของหลักการนิติศาสตร์อิสลาม ต้องเข้ามีบทบาทอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น ประการแรกเลยก็คือ การที่เราจะเอาหลักฐานที่ 1 และ 2 เท่านั้น โดยทิ้งหลักฐานที่ 3 และ 4 และ 5 ไป โดยหุกุ่มผู้อ่านว่าทำบิดอะฮ์ที่ลุ่มหลงตกนรก นั่นย่อมไม่ใช่หลักการนิติศาสนตร์อิสลาม ดังนั้น การรวมหลักฐานทั้งหมดย่อมเป็นสิ่งที่ดีที่สุด หากมันสามารถรวมได้ เพราะมันจะเป็นการปฏิบัติได้ทุกหลักฐาน และนั่นก็คือหลักการของนิติศาสตร์อิสลามในการปฏิบัติต่อหลักฐาน ซึ่งความจริงแล้ว น้องอัล-ฟารูก ได้ทำการนำเสนอรวมหลักฐานต่างๆไว้อย่างดีแล้วครับ คือ

1. หลักฐานที่ 1 นั้น บรรดามุสลิมีน ต้องทำอาหารให้แก่ครอบมัยยิด หากแม้นว่าครอบครัวมัยยิดจะร่ำรวยก็ตาม พี่น้องมุสลิมก็ต้องเข้าไปช่วยทำอาหาร โดยให้ครอบครัวมัยยิดพักผ่อนให้หายเศร้า แต่หากครอบมัยยิดอยากจะช่วยทำอาหารเล็กๆน้อยเพื่อให้คลายเหงา เราก็ไม่ต้องไปห้ามพวกขา แต่เราก็ต้องไปช่วยทำอาหารให้ หรือแต่หากพี่น้องมุสลิม 20 หลังคาเรือนทำอาหารกันคนละอย่าง แล้วมาให้บ้านครอบครัวมัยยิด มันก็คงรับประทานกันไม่หมดอย่างแน่นอน และคงบูดเน่าเสีย เพราะว่าทำให้แค่ 1 วัน กับ 1 คืนเท่านั้น พี่น้องมุสลิมก็สมควรช่วยเหลือเป็นเงินตามที่น้อง อัล-ฟารูกได้ให้ข้อเสนอแนะเอาไว้ แล้วก็ทำอาหารให้กับครอบครัวมัยยิด ภายใน 1 วัน และ 1 คืน เท่านี้ ก็ถือว่า เราทำตามหะดิษของท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) แล้วล่ะครับ ส่วนเงินที่เราช่วยเหลือแล้วทายาทได้อนุญาติให้ทำการเลี้ยงอาหารเป็นทาน อีก 3 วันตามที่ท่านอุมัรได้สั่งไว้ หรือ 7 วันตามที่ซอฮาบะฮ์รักชอบที่จะกระทำนั้น มันก็เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ไม่เกี่ยวกับหะดิษนบีข้างต้น ซึ่งก็อนุญาติให้กระทำได้ เพราะไม่ได้ขัดกับหะดิษนบีแต่อย่างใด และก็มีหลักการจากซอฮาบะฮ์มายืนยันให้กระทำกรณี 3 วัน และ 7 วัน

2. หะดิษที่ 2 คือการรายงานจากท่านญะรีร นี้ คือ การที่ไปรวมที่บ้านครอบครัวผู้ตายเพื่อไว้อาลัยและครอบครัวทำอาหารบริการนั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำอย่างยิ่ง เมื่อเป็นเช่นนี้ การที่เราไปรวมตัวโดยการเชิญจากครอบครัวผู้ตายนั้น ก็ไม่ใช่เป็นการไว้อาลัย เราก็ต้องพยายามตัดปัญหาเรื่องการให้ครอบครัวผู้ตายทำอาหาร โดยการที่พี่น้องมุสลิมช่วยบริจาคและทำอาหารให้กับครอบครัวผู้ตาย เท่านี้เราก็ไม่มีปัญหาอะไรแล้ว ก็ยังเหลืออีกประเด็นหนึ่งก็คือ การรวมตัวที่บ้านครอบครัวผู้ตาย ประเด็นนี้ มันไม่ได้หะรอมแต่อย่างใด มากสุดแค่มักโระฮ์ คือไม่ควรกระทำ แต่หากทำก็ไม่เป็นโทษอะไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เราก็ไม่ได้ไปเพื่อไว้อาลัย เนื่องจากการเลี้ยงอาหารเป็นทานนั้น ย่อมเป็นสิ่งที่มีประโยชน์มากกว่าสำหรับมัยยิดและครอบครัวมัยยิดก็ปราถนาต้องการให้มัยยิดของพวกเขาได้รับประโยชน์อยู่แล้ว

3. หลักฐานที่ 3 นี้ คืออนุญาติให้เลี้ยงอาหารได้ 3 วัน ซึ่งเป็นการสั่งเสียจากท่านอุมัร และมันก็ไม่ได้ขัดแย้งกับหะดิษของท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) เนื่องจากซอฮาบะฮ์เข้าใจว่า คำสั่งของท่านร่อซูลในหะดิษที่ 1 นั้นเป็นสุนัติเท่านั้น และความเข้าใจของซอฮาบะฮ์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่านอุมัร ผู้เป็นคอลิฟะฮ์ผู้ทรงธรรม นั้น ย่อมมีน้ำหนักพอที่จะทำการเลี้ยงอาหารเป็นทานได้

4. บรรดาซอฮาบะฮ์ในสมัยของท่านนบี(ซ.ล.) ท่านอบูบักร(ร.ฏ.) ท่านอับบาส(ร.ฏ.) และหลังจากนั้น ก็เข้าใจว่า คำหะดิษของท่านร่อซูลในหลักฐานที่ 1 นั้น ไม่ได้เป็นวายิบ และไม่ได้ห้ามให้ทำการเลี้ยงอาหาร 3 วัน หรือ 7 วัน เพราะมันเป็นหลักฐานที่กล่าวคนละประเด็นกัน

5. หลักฐานที่ 5 นี้ คือการเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทานแก่มัยยิด โดยเชิญพี่น้องมุสลิมมารับประทานเพื่อเป็นทานซ่อดาเกาะฮ์ และมีการซิกิรด้วยการอ่านอัลกุรอาน อัสติฆฟาร และดุอาอ์ให้แก่มัยยิดนั้น ย่อมไม่ได้อยู่ในความหมายของ การไว้อาลัย และการให้อาหารหรือการเลี้ยงอาหารเป็นทาน ก็ไม่ได้เป็นการ ไว้อาลัย ตามทัศนะของซอฮาบะฮ์ ที่รายงานโดยท่าน ฏอวูส แต่การเชิญคนมารวมตัวเพื่อไว้อาลัยและเลี้ยงอาหารคนมาไว้อาลัยนั้น ย่อมเป็น "นะหายะฮ์" (ค่ำครวญ) ตามร่องรอยที่รายงานโดยท่าน ญะรีร

นั่นคือการรวมหลักฐานทั้งหมดตามทัศนะของเรา โดยเป็นกลางและเดินสายกลางอย่างแท้จริง ส่วนกรณีที่วะฮาบีย์พยายามยกประเด็นมาเพื่ออ้างโจมตีนั้น เช่น ครอบมัยยิดต้องไปกู้เขามา กินมรดกเด็กกำพร้า ไปนั่งรุมกินตามที่พวกเขากล่าวว่า ท่านอุมัรให้ไปรุมกิน หรือปัญหาอะไรต่างเหล่านั้น มันก็แค่เป็นการยกเมฆเพื่อมาโจมตีฝ่ายตรงข้ามกับวะฮาบีย์เท่านั้นเอง และถ้าว่ามันมีจริง เราก็ต้องชี้แจงครอบมัยยิดให้ถูกต้อง และมันก็ไม่ไปหักล้างหลักการเดิม أصل ที่มีหลักฐานยืนยันไว้ข้างต้นเลยแม้แต่น้อย ดังนั้น กรณีที่วะฮาบีย์ยกเมฆมานั้น หากมีจริงมันก็เป็นเพียงสิ่งที่ عارض คือ สิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นมาเท่านั้นเอง ซึ่งเราต้องทำการตักเตือนและชี้แจง

ฮ่าๆๆ เดินสายกลางอย่างนี้ จะถูกวะฮาบีย์วิจารณ์อย่างไรอีกเนี่ยเรา เฮ้อ...น้องนักศึกษาไม่น่าโยนภาระมาให้เล้ย แต่ไอ้กระผมก็ข้อรับการสนทนาทุกรูปแบบและตอบการสนทนาในทุกรูปแบบเหมือนกันครับ อินชาอัลเลาะฮ์ แต่ตอนนี้ ขอเผ่นก่อน....

_________________
ต่อต้านวะฮาบีย์บิดอะฮ์พันธ์ใหม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 10:10 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

ท่านผู้อ่านจะเห็นได้ว่า นายมุหัมหมัด พยายามเลี่ยงบาลีอีกแล้ว แต่หลักฐานที่เอามานำเสนอนั้น กลับเป็นไม้ก้อนตีหัวตัวเองชัดๆ ฮะฮา เรื่อง กินเรื่องใหญ่ ฮิฮิ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
มุหัมมัด
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 06/11/2005
ตอบ: 210


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 10:15 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

การทำบุญเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทาน

กรณีทำบุญบ้านคนตายนั้น เป็นประเด็นที่สร้างความกระด้างกระเดื่องในบรรดพี่น้องมุสลิมด้วยกัน อันเนื่องจากการมีทัศนะที่แตกต่างกันและไม่มีความเข้าใจกันนั่นเอง ซึ่งปัญหาเหล่านี้ เราน่าจะมาสร้างความเข้าใจกันและกันในหมู่พี่น้องมุสลิม และพยายามชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การรวมตัวบ้านมัยยิดเพื่อทำการปลอบใจไว้อาลัยและครอบมัยยิดต้องทำอาหารเลี้ยงให้ตามลำพังนั้นเป็นสิ่งที่ศาสนาไม่ส่งเสริม ซึ่งแตกต่างกับ สิ่งที่พี่น้องมุสลิมบ้านเรากระทำอยู่จากการทำบุญเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทานซอดาเกาะฮ์ คือไปรวมตัวกันเพื่อทำการอ่านอัลกุรอาน ซิกรุลเลาะฮ์ กล่าวตะฮ์ลีล อิสติฆฟาร และทำการดุอาอ์ให้แก่มัยยิด โดยที่บรรดาพี่น้องมุสลิมได้ช่วยเหลือกันทำอาหารให้แก่ครอบมัยยิด ซึ่งสิ่งดังกล่าวนั้น ย่อมเป็นผลประโยชน์แก่ผู้ตายอย่างแท้จริง ฉะนั้น ข้อแตกต่างนี้เราจึงสามารถแยกแยะได้อย่างชัดเจนและอย่าเอาไปเหมารวมกัน

การทำบุญเลี้ยงอาหารเป็นทานนั้น คือการเชิญพี่น้องไปรับประทานอาหารเพื่อเป็นทานศอดาเกาะฮ์ หรือจะทำเป็นทานให้แก่มัยยิด หากเจ้าภาพที่เลี้ยงอาหารมีความต้องการ และก็มีการล้อมวงซิกิร อ่านอัลกุรอาน อิสติฆฟาร และขอดุอาอ์ให้แก่ผู้ทำอาหารเลี้ยง และมีการขอดุอาอ์ให้แก่บรรดามุสลิมที่มีชีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้ว

การล้อมวงซิกรุลลอฮ์

การล้อมวงซิกรุลลอฮ์นั้น มักจะมีการทำกันมากในทั้งภาคกลางและภาคใต้ ในหมู่พี่น้องอะฮ์ลิสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์ มัซฮับชาฟิอีย์ ซึ่งส่วนมากจากกระทำเมื่อมีการทำบุญเลี้ยงอาหารพี่น้องมุสลิมทั้งคนรวยและคนจนที่ได้ถูกรับเชิญและไม่ถูกรับเชิญ การทำบุญเลี้ยงอาหารนี้ ภาษาอาหรับเรียกว่า إطعام الطعام บ้านเรานั้น หากมีการทำบุญเลี้ยงอาหารแล้ว ก็จะมีการล้อมวงอ่านซิกิร เช่น อ่านบรรดาอายะฮ์อัลกุรอานที่มีความพิเศษ กล่าวซิกรุลเลาะฮ์ เช่น กล่าวตะฮฺลีล กล่าวตัสบีหฺ กล่าวอิสติฆฟาร และกล่าวซ่อลาวาตต่อท่านนบี(ซ.ล.) แล้วก็ร่วมกันขอดุอาอ์ให้บรรดามุสลิมมีน ทั้งคนที่มีชีวิตอยู่และผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว และในอุอาอฺนั้น ก็จะมีการขออภัยโทษแก่บรรดามวลมุสลิมีนทั้งหลาย และทำการอุทุศส่วนกุศลให้แก่บรรดามุสลิมมีนที่ลุล่วงไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นส่วนผลบุญที่การซิกรุลเลาะฮ์และการทำบุญเลี้ยงอาหาร การล้องวงซิกรุลเลาะฮ์นั้น เมืองไทยบ้านเราเรียกว่า การทำตะฮฺลีล ในการซิกิรนั้นก็จะมีการกล่าวตะฮ์ลีล(ลาอิลาฮะอิลลัลเลาะฮ์)ด้วย และการกล่าวตะฮ์ลีลนี้ ก็เป็นหนึ่งในซิกิรที่ดีเลิศ บ้านเราจึงเรียกว่า การทำการตะฮ์ลีล บ้างเรียกว่า ทำอุอาอฺอัรเวาะฮ์(วิญญาน) เพราะว่าเมื่อเสร็จการซิกิรนั้น ก็จะขอดุอาอ์และอุทิศผลบุญการซิกิรให้แด่ดวงวิญญานของบรรดามุสลิมีนทั้งหลาย บ้างก็เรียกว่า อีซีกุบูร คือเมื่อทำการซิกิรเสร็จ ก็จะมีการขอดุอาอ์และอุทิศผลบุญเป็นของกำนัลให้แก่บรรดาพี่น้องมุสลิมที่อยู่ในกุบูร ดังนั้น การเรียกทั้งสามชื่อนี้ ก็คือการร่วมกันกล่าวซิกรุลลอฮ์นั้นเอง ส่วนบ้านเราจะเรียกอย่างไรก็ตาม ย่อมไม่ปัญหาใดๆ เช่นการละหมาด เราจะเรียกว่า ละหมาด ซัมบะฮ์ยัง นมาช หรือ ซ่อลาฮ์ ก็ได้ เนื่องจากมันเป็นแค่การเรียกเท่านั้น และทุกคำที่เรียกนั้น ก็มีความหมายเดียวกัน และบรรดาอุลามาอ์กล่าวว่า لاَ مُشَاحَةَ فِى الإصْطِلَاحَاتِ "ไม่มีการขัดแย้งกันในเรื่องการเรียกศัพท์" การทำซิกรุลเลาะฮ์นี้ บ้านเราจะทำการเป็นพิธีกรรม หมายถึง ทำการเป็นกิจลักษณะโดยมีระเบียบเรียบร้อย โดยมีผู้เริ่มนำการซิกรุลเลาะฮ์ ซึ่งดังกล่าวนั้น เพราะเน้นความเป็นระเบียบเรียบร้อยเท่านั้นเอง หากจะรวมตัวกันและต่างคนต่างซิกิรต่างอ่านอายะฮ์อัลกุรอานที่ตนเองต้องการ ก็คงจะสับสนวุ่นวาย ไร้ความมีระเบียบ ก็อาจจะทำให้ผู้ทำการซิกิรด้วยกันขาดสมาธิในการซิกรุลเลาะฮ์ทั้งวาจาและจิตใจ ดังนั้น เมื่อเราทราบถึงที่หลักการดังกล่าวแล้ว ผมก็ขอกล่าวหลักฐานแบบสรุปดังต่อไปนี้

หลักการฐานในการร่วมซิกรุลเลาะฮ์แบบล้อมวง

حدثنا أبو بكر بن أبي شيبة. حدثنا مرحوم بن عبدالعزيز عن أبي نعامة السعدي، عن أبي عثمان، عن أبي سعيد الخدري، قال:
خرج معاوية على حلقة في المسجد. فقال: ما أجلسكم؟ قالوا: جلسنا نذكر الله. قال: آلله! ما أجلسكم إلا ذاك؟ قالوا: والله! ما أجلسنا إلا ذاك. قال: أما إني ما أستحلفكم تهمة لكم. وما كان أحد بمنزلتي من رسول الله صلى الله عليه وسلم أقل عنه حديثا مني وإن رسول الله صلى الله عليه وسلم خرج على حلقة من أصحابه. فقال "ما أجلسكم؟ قالوا: جلسنا نذكر الله ونحمده على ما هدانا للإسلام، ومن به علينا. قال "آلله! ما أجلسكم إلا ذاك؟" قالوا: والله! ما أجلسنا إلا ذاك. قال "أما إني لم أستحلفكم تهمة لكم. ولكنه أتاني جبريل فأخبرني؛ أن الله عز وجل يباهي بكم الملائكة

" เล่ากับเรา โดย อบูบักร บิน อบี ชัยบะฮ์ เล่ากับเราโดย มัรหูม บิน อับดุลอะซีซฺ จาก อบี นะอามะฮ์ อัลสะอฺอีย์ จาก อบีอุษมาน จากท่านอบีสะอีด อัลคุดรีย์ เขากล่าวว่า ท่านมุอาวิยะฮ์ได้ออกมาที่ กลุ่มคนวงหนึ่งในมัสยิด แล้วท่านมุอาวิยะฮ์กล่าวว่า อะไรที่ทำให้พวกท่านนั่งอยู่หรือ? พวกเขากล่าวว่า เรานั่งโดยที่เราทำการซิกรุลลอฮ์ ท่านมุอาวิยะฮ์กล่าวว่า อัลเลาะฮ์! ไม่มีอะไรทำให้พวกท่านนั่งนอกจาก ดังกล่าวนั้นดอกหรือ? พวกเขากล่าวว่า อัลเลาะฮ์! ไม่มีอะไรที่ทำให้เรานั่งอยู่เว้นแต่สิ่งดังกล่าวนั้น ท่านมุอาวิยะฮ์กล่าวว่า พึงทราบเถิด แท้จริง ฉันไม่เคยขอการสาบานกับพวกท่าน อันเนื่องจากความสงสัยแก่พวกท่าน โดยที่ด้วยฐานะ(ทางเครือญาติ)ของฉัน จากท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.)แล้ว ไม่มีผู้ใดที่จะเล่าหะดิษจากท่านร่อซูลน้อยไปกว่าฉัน และแท้จริงท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) ได้เคยออกไปยัง วงหนึ่ง จากบรรดาซอฮาบะฮ์ของท่าน แล้วท่านร่อซูลุลเลาะฮ์กล่าวว่า อะไรที่ทำให้พวกท่านนั่งอยู่หรือ? บรรดาซอฮาบะฮ์กล่าวว่า เราได้นั่งเพื่อกล่าวซิกรุลเลาะฮ์ และทำการสรรญเสริญอัลเลาะฮ์ ต่อสิ่งที่พระองค์ทรงชี้นำกับเราไปยังอิสลาม และสิ่งที่พระองค์ทรงประทานความโปรดปรานแก่เรา ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.)กล่าวว่า อัลเลาะฮ์! ไม่มีอะไรทำให้พวกท่านนั่งนอกจาก ดังกล่าวนั้นดอกหรือ? พวกเขากล่าวว่า อัลเลาะฮ์! ไม่มีอะไรที่ทำให้เรานั่งอยู่เว้นแต่สิ่งดังกล่าวนั้น ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์กล่าวว่า พึงทราบเถิด แท้จริง ฉันไม่เคยขอการสาบานกับพวกท่าน อันเนื่องจากความสงสัยแก่พวกท่าน แต่ยิ่งไปกว่านั้น ท่านญิบรีลได้มาหาฉัน แล้วบอกกับฉันว่า แท้จริงอัลเลาะฮ์ทรงอวดยกย่องกับมะลาอิกะฮ์ด้วยกับพวกท่าน" ดู ซอฮิหฺมุสลิม หะดิษที่ 2701

حدثنا محمد بن المثنى وابن بشار. قالا: حدثنا محمد بن جعفر. حدثنا شعبة. سمعت أبا إسحاق يحدث عن الأغر، أبي مسلم؛ أنه قال: أشهد على أبي هريرة وأبي سعيد الخدري أنهما شهدا على النبي صلى الله عليه وسلم؛
أنه قال "لا يقعد قوم يذكرون الله عز وجل إلا حفتهم الملائكة، وغشيتهم الرحمة، ونزلت عليهم السكينة، وذكرهم الله فيمن عنده

ท่านอิมามมุสลิม ได้รายงานว่า ได้เล่าวกับเราโดยมุหัมมัด บิน มุษันนา และ อิบนุ บัชชาร ทั้งสองกล่าวว่า ได้เล่ากับเราโดย มุหัมมัด บิน ญะฟัร ได้เล่ากับเราโดย ชัวะอฺบะฮ์ ฉันได้ยิน อะบาอิสฮาก ทำการเล่าจาก อัลอะฆ๊อรรฺ อบูมุสลิม เขากล่าวว่า ฉันขอเป็นพยานยืนยันว่า ท่านอบูฮุรอยเราะฮ์และท่านสะอีดอัลคุฏรีย์ ซึ่งทั้งสองเป็นพยานยืนยันว่า แท้จริง ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) กล่าวว่า " ไม่มีคนกลุ่มหนึ่งกลุ่มได้ ได้นั่งทำการซิกรุลเลาะฮ์ นอกจากว่า บรรดามะลาอิกะฮ์จะห้อมล้อมพวกเขา และความเมตตาก็แผ่คลุมกับพวกเขา และความสงบสุขก็ได้ลงมาบนพวกเขา และอัลเลาะฮ์ก็ทรงกล่าวกับพวกเขา แก่ผู้ที่อยู่ ณ พระองค์" ดู ซอฮิหฺมุสลิม หะดิษที่ 2700

حدثنا محمد بن حاتم بن ميمون. حدثنا بهز. حدثنا وهيب. حدثنا سهيل عن أبيه، عن أبي هريرة،
عن النبي صلى الله عليه وسلم، قال "إن لله تبارك وتعالى ملائكة سيارة. فضلا. يتبعون مجالس الذكر. فإذا وجدوا مجلسا فيه ذكر قعدوا معهم. وحف بعضهم بعضا بأجنحتهم. حتى يملؤا ما بينهم وبين السماء الدنيا. فإذا تفرقوا عرجوا وصعدوا إلى السماء. قال فيسألهم الله عز وجل، وهو أعلم بهم: من أين جئتم؟ فيقولون: جئنا من عند عباد لك في الأرض، يسبحونك ويكبرونك ويهللونك ويحمدونك ويسألونك. قال: وماذا يسألوني؟ قالوا: يسألونك جنتك. قال: وهل رأوا جنتي؟ قالوا: لا. أي رب! قال: فكيف لو رأوا جنتي؟ قالوا: ويستجيرونك. قال: ومم يستجيرونني؟ قالوا: من نارك. يا رب! قال: وهل رأوا ناري؟ قالوا: لا. قال: فكيف لو رأوا ناري؟ قالوا: ويستغفرونك. قال فيقول: قد غفرت لهم. فأعطيتهم ما سألوا وأجرتهم مما استجاروا. قال فيقولون: رب! فيهم فلان. عبد خطاء. إنما مر فجلس معهم. قال فيقول: وله غفرت. هم القوم لا يشقى بهم جليسهم

ท่านอิมามมุสลิม ได้รายงานว่า ได้เล่ากับเรา โดยมุหัมมัด บิน หาติม บิน มัยมูน ได้เล่ากับเรา โดยบะฮฺซฺ ได้กล่าวกับเราโดยวุฮัยบฺ ได้เล่าวกับเราโดยซุฮัยล์ จากบิดาของเขา จากท่านอบูฮุรอยเราะฮ์ เล่าจากท่านนบี(ซ.ล.) ท่านกล่าวว่า " แท้จริง อัลเลาะฮ์(ตะบาร่อกะวะตะอาลา) ทรงมีบรรดามะลาอิเกาะฮ์ที่ท่องเดินทางอยู่บนผืนแผ่นเดิน เป็นมะลาอิกะฮ์ที่เพิ่มขึ้นมา(นอกจากบรรดามะลาอิกะฮ์หะฟะเซฺาะฮ์ที่ทำหน้าที่ปกปักษ์รักษา) ได้ทำการสืบเสาะแสวงหา สถานที่ต่างๆที่มีการซิกิร ดังนั้น เมื่อพวกเขาได้เจอสถานที่หนึ่ง ที่มีการซิกิร พวกเขาก็จะนั่งร่วมพร้อมกับพวกเขา(บรรดาผู้ที่ทำการซิกรุลเลาะฮ์) และบรรดามะลาอิกะฮ์ก็ต่างทำการห้อมล้อมด้วยปลีกของพวกเขา จนกระทั้งพวกเขาเต็ม(เพิ่มขึ้น)ในระหว่างพวกเขาและท้องฟ้า ดังนั้น เมื่อบรรดาผู้ทำากรซิกรุลเลาะฮ์ได้แยกย้าย บรรดามะลาอิกะฮ์จึงเดินทางขึ้นสู่ฟ้ากฟ้า" ท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวว่า "แล้วอัลเลาะฮ์ก็ถามกับพวกเขา - โดยที่พระองค์ทรงรู้ดียิ่งกับพวกเขา- ว่า พวกเจ้ามาจากใหนกัน? บรรดามะลาอิกะฮ์กล่าวว่า เราได้มาจาก ณ ที่บรรดาบ่าวของพระองค์ ที่อยู่ในผืนแผ่นดิน โดยที่พวกเขาได้ทำการกล่าวตัสบีหฺ(กล่าวซุบหานัลเลาะฮ์) กล่าวตักบีร(อัลเลาะฮ์อักบัร) กล่าวตะฮ์ลีล(ลาอิลาฮ่าอิลลัลลอฮ์) กล่าวตะหฺมีด(อัลหัมดุลิลลาฮ์) และทำการวอนขอต่อพระองค์" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามว่า "แล้วอะไรที่พวกเขาได้วอนขอกับฉัน? " บรรดามะลาอิกะฮ์ตอบว่า "พวกเขาได้ขอพระองค์ กับสรวงสวรรค์ของพระองค์" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามว่า "แล้วพวกเขาเคยเห็นสรวงสวรรค์ของฉันหรือไม่ล่ะ?" มะลาอิกะฮ์ตอบว่า ไม่เคย โอ้ผู้อภิบาลแห่งเรา! " อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามต่อว่า "แล้วอย่างไรเล่า หากพวกเขาได้เห็นสรวงสวรรค์ของฉัน?" มะลาอิกะฮ์กล่าวว่า "และพวกเขาก็ทำการขอความคุ้มครองกับพระองค์" พระองค์ทรงตรัสถามว่า "พวกเขาขอความคุ้มครองฉันจากอะไร? มะลาอิกะฮ์กล่าวว่า "จากไฟนรกของพระองค์ โอ้ผู้อภิบาลแห่งเรา!" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามว่า "แล้วพวกเขาเคยเห็นไฟนรกของฉันหรือไม่ล่ะ?" มะลาอิกะฮ์ตอบว่า ไม่เคย " อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามต่อว่า "แล้วอย่างไรเล่า หากพวกเขาได้เห็นไฟนรกของฉัน?" มะลาอิกะฮ์ตอบวา "พกเขาก็ทำการอิสติฆฟารต่อพระองค์" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสว่า "ฉันได้อภัยแก่พวกเขาแล้ว แล้วฉันก็ได้ให้สิ่งที่พวกเขาได้ขอ และจะปกป้องสิ่งที่พวกเขาได้ขอความคุ้มครอง" ท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวว่า "แล้วมะลาอิกะฮ์ได้กล่าวว่า โอ้ผู้อภิบาลแห่งเรา ในพวกเขา(ที่ทำการซิกิรุลเลาะฮ์)นั้น มีคนหนึ่งที่เป็นบ่าวผู้กระทำผิด โดยที่เขาได้เดินผ่านมา แล้วก็นั่งร่วมด้วยกับพวกเขา" ท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวว่า "แล้วพระองค์ก็ทรงตรัสว่า ฉันอภัยให้แก่เขาแล้ว โดยที่บรรดาพวกที่ทำการซิกิรนั้น ผู้ที่นั่งร่วมด้วยก็จะไม่อับโชค ด้วยกับพวกเขา(ที่ทำการนั่งซิกิร) " ดู ซอฮิหฺมุสลิม หะดิษที่ 2689

وعن أنس عن النبي صلى الله عليه وسلم قال‏whistling#8207;
‏"‏إن لله سيارة من الملائكة يطلبون حلق الذكر، فإذا أتوا عليهم وحفوا بهم، ثم بعثوا رائدهم إلى السماء إلى رب العزة تبارك وتعالى فيقولون‏whistling#8207; ربنا أتينا على عباد من عبادك يعظمون آلاءك، ويتلون كتابك، ويصلون على نبيك محمد صلى الله عليه وسلم، ويسألونك لآخرتهم ودنياهم، فيقول تبارك وتعالى‏whistling#8207; غشوهم رحمتي، فيقولون‏whistling#8207; يا رب إن فيهم فلاناً الخطاء إنما اعتنقهم اعتناقاً‏!‏ فيقول تبارك وتعالى‏whistling#8207; غشوهم رحمتي فهم الجلساء لا يشقى بهم جليسهم‏
إسناده حسن‏ "


‏รายงานจาก ท่านอะนัส จากท่านนบี(ซ.ล.) ท่านกล่าวว่า " แท้จริง อัลเลาะฮ์ทรง บรรดามะลาอิกะฮ์ที่เดินทาง เพื่อแสวงหา บรรดาวงที่ล้อมกันทำซิกิร ดังนั้น เมื่อพวกเขาได้มา ที่บรรดาผู้ล้อมวงทำซิกิร มะลาอิกะฮ์ก็ทำการห้อมล้อมพวกเขา หลังจากนั้น พวกเขาก็ส่งหัวหน้าของมะลาอิกะฮ์ไปยังฟากฟ้า โดยที่ไปยังพระผู้อภิบาลทางเกียตริ แล้วพวกเขาก็กล่าว โอ้องค์ผู้อภิบาลของเรา เราได้ไปหาบรรดาบ่าว จากปวงบ่าวของพระองค์ ซึ่งพวกเขาได้ทำการกล่าวบรรดาเนี๊ยะมัตต่างๆของพระองค์ พวกเขาทำการอ่าน(อายะฮ์อัลกุรอาน)คำภีร์ของพระองค์ และพวกเขาทำการซ่อลาวาต ต่อ มุฮัมมัด(ซ๊อลลัลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) ศาสนทูตของพระองค์ และพวกเขาได้ทำการขอต่อพระองค์ เกี่ยวกับเรื่องอาคิเราะฮ์และดุนยาของพวกเขา ดังนั้น พระองค์ทรงตรัสว่า ความเมตตาของฉันได้ แผ่คลุมกับพวกเขาแล้ว แล้วมะลาอิกะฮ์กล่าวว่า โอ้องค์อภิบาลของเรา แท้จริง ในบรรดาผู้ทำการล้อมวงซิกิรนั้น มีชายคนหนึ่งที่มีบาป โดยที่แท้จริง เขาได้ร่วมอยู่พร้อมกับพวกเขา และอัลเลาะฮ์ทรงตรัส ว่า ความเมตตาของฉันได้แผ่คลุมพวกเขาแล้ว เพราะพวกเขาเป็นผู้ที่ทำการนั่ง(ซิกรุลเลาะฮ์) โดยที่ผู้นั่งร่วมด้วยกับพวกเขานั้น จะไม่อับโชค " สายรายงานหะดิษนี้ หะซัน ดู หนังสือ มัจญฺมะอฺ อัลซะวาอิด ของท่าน นูรุดดีน อัลฮัยษะมีย์ เล่ม 10 หน้า 77 หะดิษที่ 16769

ท่าน อัล-หากิม ได้รายงาน ด้วยสายรายงานของท่าน ไปยังท่านร่อซูล(ซ.ล.) ซึ่งท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) กล่าวว่า

لا يجتمع ملأ فيدعو بعضهم ويؤمن بعضهم إلا استجاب الله لعم دعاءهم

"ไม่มีชนกลุ่มหนึ่ง ได้ทำการรวมตัวกัน แล้วส่วนหนึ่งจากพวกเขาได้ทำการขอดุอาอ์ และอีกส่วนหนึ่งได้ทำการกล่าวอามีน นอกจากเสียว่า อัลเลาะฮ์จะทรงตอบรับดุอาอฺให้กับพวกเขา" รายงานโดยท่าน ฮากิม และท่านกล่าวว่า หะดิษนี้รายงานบนเงื่อนไขของท่านมุสลิม

อธิบาย

บรรดาหะดิษต่างๆเหล่านี้ มีสายรายงานที่ซอฮิหฺ ที่ชี้ถึง การอนุญาติให้ทำการซิกรุลเลาะฮ์แบบล้อมวง ส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ทำการซิกิรนั้น กระผมไม่สามารถนำมากล่าวได้ใน ณ ที่นี้ เนื่องจากมันมีข้อมูลมากเกินไป และผมต้องการจะนำเสนอแบบสรุปเท่านั้น การกล่าวซิกรุลเลาะฮ์ที่บ้านเราทำกันนั้น จะมีอายะฮ์อัลกุรอานและมีการซิกิรที่มีการเรียบเรียงที่เฉพาะ ดังกล่าวนั้น เพื่อเป็นระเบียบเรียบร้อยในการซิกรุลเลาะฮ์พร้อมๆกัน ไม่ใช่เป็นการอ้างว่า รูปแบบการเรียบเรียงนี้ มาจากท่านนบี(ซ.ล.) หรือเอี๊ยะติก๊อตว่า"จำเป็น"ต้องเรียบเรียงอย่างนี้ ก็หาไม่ ซึ่งหากเชื่ออย่างนั้น ถือว่าเป็นบิดอะฮ์ เพราะท่านนบี(ซ.ล.)ไม่ได้ระบุให้เรียบเรียงอย่างนั้น แต่การซิกรุลเลาะฮ์มันมีหลักฐานแบบ مقيد จำกัด เช่น ซุกรุลเลาะฮ์ที่ให้กล่าวในละหมาด และหลังละหมาด หรือซิกรุลเลาะฮ์หลังจากการอาบน้ำละหมาด เป็นต้น และการซิกรุลเลาะฮ์ก็มีหลักฐานแบบกว้างๆ مطلق เช่น การกล่าวลาตะฮ์ลีล ตะฮ์มีด ตัสบีหฺ การอ่านอายะฮ์ต่างๆที่มีความพิเศษ เป็นต้น ซึ่งซิกรุลเลาะฮ์แบบกว้างๆนี้ เราจะกล่าวในตอนยืน นั่ง นอน หรือเดินไปใหนมาใหนก็กระทำได้ ก่อนจะเล่นฟุตบอล นักกีฬาร่วมกันจับมือเป็นหนึ่งเดียวกัน แล้วกล่าวพร้อมๆกันว่า อัลลอฮุอักบัร! เพื่อเสริมสร้างกำลัง ก็ย่อมกระทำได้อย่างไม่ต้องสงสัย เพราะว่ามันเป็นซิกรุลเลาะฮ์แบบกว้างๆ อนุญาติให้กระทำได้ในยามที่สะดวก แต่สำหรับการซิกรุลเลาะฮ์แบบล้อมวงในการทำบุญเลี้ยงอาหารนั้น จำต้องมีซิกิรที่มีการเรียบลำดับที่เฉพาะเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยเท่านั้นเอง

เราลองมาพิจารณาหะดิษของท่านนบี(ซ.ล.)ที่ได้กล่าวมาสักตอนหนึ่ง ซึ่งมีรายงานไว้ว่า" แล้วมะลาอิกะฮ์ได้กล่าวว่า โอ้ผู้อภิบาลแห่งเรา ในพวกเขา(ที่ทำการซิกิรุลเลาะฮ์)นั้น มีคนหนึ่งที่เป็นบ่าวผู้กระทำผิด โดยที่เขาได้เดินผ่านมา แล้วก็นั่งร่วมด้วยกับพวกเขา" ท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวว่า "แล้วพระองค์ก็ทรงตรัสว่า ฉันอภัยให้แก่เขาแล้ว โดยที่บรรดาพวกที่ทำการซิกิรนั้น ผู้ที่นั่งร่วมด้วยก็จะไม่อับโชค ด้วยกับพวกเขา(ที่ทำการนั่งซิกิร) "

พิจารณาซิครับท่านผู้อ่านที่เคารพ ชายคนหนึ่งที่มีความผิดติดตัว แล้วเขาก็เดินผ่านมา และก็นั่งร่วมซิกิรร่วมด้วย กลับได้ถูกอภัยโทษจากอัลเลาะฮ์ และผู้นั่งร่วมดวยนั้น จะไม่อับโชคเลย แล้วเราลองมาพิจารณาเมืองไทยบ้านเรา ผู้ที่ทำการซิกิรร่วมกันนั้น ถูกกล่าวว่า ทำบิดอะฮ์ ทำความผิด ตกนรก ทั้งที่หะดิษนบี(ซ.ล.)ได้ยืนยันว่า อัลเลาะฮ์ทรงอภัยให้ และผู้นั่งร่วมด้วยจะไม่อับโชค ดังนั้น ความยึดติดในทัศนะของตน อย่างเป็นคุณลักษณะที่ทำให้พี่น้องมุสลิมแตกแยก อันเนื่องจากไม่เข้าใจและศึกษาแนวทางของพี่น้องมุสลิมอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งมันเป็นการละเมิดในทัศนะอิจญฺฮาดของมุสลิมด้วยกัน มันจึงเกิดฟิตนะฮ์ด้วยการกล่าวหาบิดอะฮ์กับอีกฝ่ายหนึ่ง ผู้กระทำความดีด้วยซิกิรล้อมวงเพื่อรำลึกถึงอัลเลาะฮ์และร่อซูลขอพระองค์พร้อมกัน กลับถูกกล่าวหาว่าทำบิดอะฮ์ ตัดญาติขาดมิตรกันก็มี แต่การร่วมกันประท้วงเพื่อกอบกู้ศักดิ์ศรีของท่านนบี(ซ.ล.)!!! (ทั้งที่เกียตริและศักดิ์ศรีของท่านนบี(ซ.ล.)ไม่เคยและไม่มีวันเสื่ยมเสียอะไรเลย) แต่เราก็ขอยอมรับในการกระทำดังกล่าวนั้น เนื่องจากมันแสดงถึงความรักต่อท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) และบรรดามุสลิมทั่วโลกก็ทำกันอย่างนั้น

หลักฐานฝ่ายพี่น้องวะฮาบีย์

หลักฐาน ที่พี่น้องวะฮาบีย์ ได้ทำการอ้าง แล้วนำมาฮุกุ่มบิดอะฮ์บรรดามุสลิมส่วนใหญ่ของประชาชาติอิสลาม ก็คือคำกล่าวของท่านอิบนุมัสอูด ที่รายงานโดยท่าน อัดดาริมีย์

أخبرنا الحكمُ بنُ المبارَكِ أنا عمرُو بنُ يحيى ،، قال: سمعتُ أبي يحدِّثُ عن أبيه قال: كنا نجلِسُ على بابِ عبدِ اللَّهِ بنِ مسعودٍ قبلَ صلاةِ الغداةِ، فإذا خرَجَ مشَيْنا معه إلى المسجِدِ، فجاءنا أبو موسى الأشعريُّ فقال: اخرَجَ إليكُمْ أبو عبدِالرحمنِ بَعْدُ، قلنا: لا فجَلَسَ معنا حتى خَرَجَ فلما خَرَجَ قُمْنا إليهِ جميعاً، فقال له أبو موسى: يا أبا عبدِالرحمنِ أني رأيتُ في المسجِدِ آنِفَاً أمْراً أنكَرْتُهُ ولم أرَ والحمْدُ لله إلاَّ خيراً، قالَ: فما هو فقال: إنْ عِشْتَ فَسَتَرَاهُ قال: رأيتُ في المسجِدِ قَوْماً حَلَقاً جُلُوساً ينتظرونَ الصلاةَ في كل حلْقَةٍ رجلٌ وفي أيديهم حَصَا، فيقول: كِبِّرُوا مِائةً فيُكَبِّرونَ مِائةً فيقول: هلِّلُوا مِائةً فيُهَلِّلُونَ مِائةً ويقولُ: سَبِّحُوا مِائةً فَيُسَبِّحُونَ مِائةً قال: فماذا قُلْتَ لهم قالَ: ما قُلْتُ لهُمْ شيئاً انتظارَ رأيِكَ أو انتظارَ أمْرِكَ قال: أفلا أمرْتَهُمْ أن يعُدُّوا سيِّئاتِهِمْ وضمِنْتَ لَهُمْ أنْ لا يضيعَ من حَسَنَاتِهِمْ، ثم مضى ومضينا معه حتى أتى حلْقةً من تلك الحِلَقِ فوقَفَ عليهِمْ، فقالَ: ما هذا الذي أراكُمْ تصنعونَ قالوا: يا أبا عبدِاللَّهِ حصا نعُدُّ به التكبيرَ والتهليلَ والتسبيحَ قال: فعُدُّوا سيِّئاتِكُمْ فأنا ضامنٌ أن لا يضيعَ من حسناتِكُمْ شيءٌ، ويْحَكُمْ يا أُمَّةَ محمَّدٍ ما أسرَعَ هَلَكَتكُمْ هؤلاءِ صَحابَةُ نبيِّكُمْ صلى الله عليه وسلّم متوافِرُونَ وهذِهِ ثيابُهُ لم تَبْلَ وآنِيَتُهُ لم تُكْسَرْ، والذي نفسي بيدِهِ إنكم لعلى مِلَّةٍ هي أهدى مِنْ ملَّة محمدٍ، أو مُفْتَتِحُوا بابِ ضلالَةٍ قالوا: واللَّهِ يا أبا عبدِالرحمنِ ما أرَدْنا إلاَّ الخيرَ، قالَ وكَمْ مِنْ مُرِيدٍ للخيرِ لنْ يُصِيبَهُ، إنَّ رسولَ اللَّهِ صلى الله عليه وسلّم حَدَّثَنَا أنَّ قوماً يقرؤُونَ القُرْآنَ لا يجاوِزُ تراقِيَهُمْ، وَآيْمُ اللَّهِ ما أدري لعلَّ أكثَرَهُمْ مِنْكُمْ، ثم تَوَلَّى عنهم فقال عمرُو بنُ سَلَمَةَ: رأينا عامَّةَ أولئك الحِلَقِ يطاعنُونَا يومَ النَّهْرَوَانِ مع الخوارِجِ

สายรายงาน จากท่านอิบนุ มัสอูด นี้ ฏออีฟ เนื่องจากมีลักษณะ ที่บกพร่อง ดังนี้

1. الحكمُ بنُ المبارَكِ ( ท่าา อัล-หะรัม บิน อัล-มุบาร๊อก )

ท่าน อัซฺ-ซฺะฮะบีย์ กล่าววิจารณ์ว่า

الحكم بن المبارك الخاشي البلخي عن مالك ومحمد بن راشد المكحولي وعنه أبو محمد الدارمي وجماعة. وثقه ابن حبان وابن مندة. وأما ابن عدي فإنه لوّح في ترجمة أحمد بن عبد الرحمن الوهبي بأنه ممن يسرق الحديث، لكن ما أفرد له في الكامل ترجمة. وهو صدوق

" อัล-หะกัม บิน อัล-มุบาร๊อก อัล-คอชีย์ อัล-บัลคีย์ ได้รายงานจาก มาลิก และ มุหัมมัด บิน ร่อชิด อัลมักฮูลีย์ และได้รายงานจากเขา(หิกัม บิน อัลมุบาร๊อก) โดยท่าน อบู มุหัมมัด อัดดาริมีย์ และ กลุ่มหนึ่ง ท่านอิบนุหิบบาลและท่านอิบนุ มุนดะฮ์ ได้ให้ความ เชื่อถือ กับเขา และสำหรับ ท่านอิบนุ อะดีย์นั้น ท่านได้กล่าวเสริมไว้ใน ประวัติของ ท่านอะหฺมัด บิน อับดุรเราะหฺมาน อัลวะฮ์บีย์ ว่า แท้จริง ท่านอัลหะกัม บิน อัลมุบาร๊อกนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากผู้ที่โขมยหะดิษ แต่ท่าน อิบนุ อะดีย์ ก็ไม่ได้ทำการกล่าวถึง ท่านอัลหะกัม บิน อัลมุบาร๊อก อย่างเป็นเอกเทศ โดยที่เขาเองนั้น ก็เป็นผู้ที่พูดจริง " ดู หนังสือ มีซฺาน อัลเอี๊ยะอฺติดาล ฟี นักดิรริญาล เล่ม 2 หน้า 345

เราขอกล่าวว่า การขโมยหะดิษ นั้น หมายถึง ได้หะดิษหนึ่งที่นักหะดิษบางส่วนได้ทำการรายงาน แล้วหะดิษนั้น ก็ได้ทราบถึงนักรายงานคนนั้น แล้วเขาก็โขมยหะดิษ จากนักหะดิษบางส่วนที่รายงานมา แล้วเขาก็ทำการสวมรอยสายรายงานของนักหะดิษบางส่วน แล้วก็นำมาเป็นสายรายงานของเขาเอง แล้วก็อ้างไปยังท่านนบี(ซ.ล.) ดังนั้น นักรายงานที่ขโมยหะดิษ จึงอยู่ในหมวดผู้ที่ ถูกกล่าวหาจากนักหะดิษว่า เขานั้น โกหก หรือ กุหะดิษ ซึ่งเป็นการถูกกล่าวหาที่อันตราย

2. عمرُو بنُ يحيى อัมร์ บิน ยะหฺยา

ท่านอิบนุ อะดีย์ ได้ทำการกล่าววิจารณ์ว่า

عمرو بن يحيى بن عمرو بن سلمة، حدثنا بن أبي عصمة ثنا أحمد بن أبي يحيى قال سمعت يحيى بن معين يقول عمرو بن يحيى بن سلمة ليس بشيء. حدثنا أحمد بن علي ثنا الليث بن عبدة قال سمعت يحيى بن معين يقول عمرو بن يحيى بن سلمة سمعت منه لم يكن يرضي. وعمرو هذا ليس له كثير رواية ولم يحضرني له شيء فأذكره

" อัมร์บินยะหฺยา บิน อัมร์บินสะละมะฮ์นั้น (ท่านอิบนุอะดีย์กล่าวว่า) ได้เล่ากับเรา โดยท่านอะหฺมัดบินอบียะหฺยา เขากล่าวว่า ฉันได้ยิน ท่านยะหฺยา บิน มุอีน กล่าวว่า "อัมร์บินยะหฺยา นั้น ไม่มีสิ่งใด (ที่รายงาน คือรายงานน้อย) ได้เล่ากับเรา โดยอะหฺมัด บิน อะลีย์ ได้เล่ากับเรา โดย บิบ อะบะดะฮ์ เขากล่าวว่า ฉันได้ยิน ท่านยะฮ์ยา บิน มะอีน กล่าวว่า อัมร์ บิน ยะหฺยา นั้น ฉันได้ยินจาก(เรื่องของ)ของเขาว่า เขานั้น ไม่เป็นที่น่าพอใจ และอัมร์ บิน ยะหฺยานี้ ทำการรายงานไม่มาก และไม่มีสิ่งใดของเขา มาที่ฉันเลย" ดู หนังสือ อัล-กามิล ฟี ฏู่อะฟาอ์ อัรริญาล เล่ม 5 หน้า 122

ท่านอิบนุ หะญัร กล่าววิจารณ์ว่า

عمرو بن يحيى بن عمرو بن سلمة قال يحيى بن معين ليس حديثه بشيء قد رأيته وذكره بن عدي مختصرا انتهى. وقال بن خراش ليس بمرضي. وقال بن عدي ليس له كبير شيء ولم يحضرني له شيء

" อัมร์ บิน ยะหฺยา บิน สะละมะฮ์นั้น ท่านยะหฺยา บิน มะอีน กล่าวว่า หะดิษของเขานั้น ไม่มีสิ่งใด ที่ฉันเห็น(รายงาน)มันเลย และอิบนุอะดีย์ ก็ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเขาแบบสรุป . และอิบนุ คอ๊รรอช กล่าวว่า เขานั้นไม่เป็นที่น่าพอใจ และท่านอิบนุอะดีย์ กล่าวว่า เขานั้นไม่มีอะไรที่สำคัญ โดยที่ไม่มีสิ่งใดของเขา (รายงาน)มาที่ฉันเลย " ดู ลิซาน อัลมีซาน เล่ม 4 หน้า 378

ดังนั้น หลักฐานที่รายงานโดยท่าน อัดดาริมีย์นั้น เป็นหลักฐานที่มีสายรายงานที่ดีที่สุดของพี่น้องวะฮาบีย์ ที่นำมาเป็นหลักฐานอ้างว่า การซิกรุลเลาะฮ์ล้อมวงนั้น เป็นบิดอะฮ์นั้น ซึ่งมันเป็นหลักฐานที่ฏออีฟ และขัดกับหะดิษที่ซอฮิหฺ และยังมีสายรายงานอื่นอีกที่รายงานจากท่านอิบนุมัสอูด ไม่ว่าจะเป็น การรายงานของ อิบนุ ฮาจญฺ หรือท่านอิบนุ นุอัยม์ แต่ทั้งหมด ก็มีสายรายงานที่ฏออีฟทั้งสิ้น และหากว่ามีหลายสายรายงานที่ฏออีฟด้วย นั่นก็ย่อมเป็นการตอกย้ำถึงความฏออีฟของหะดิษอย่างไม่ต้องสงสัยตามหลักวิชาหะดิษ

และหากว่าสายรายงานดังกล่าวซอฮิหฺจริง แน่นอนว่า คำกล่าวของท่านอิบนุมัสอูดนั้น ท่านได้กล่าวตำหนิการกระทำของพวกค่อวาริจ ซึ่งเมื่อพวกเขาเหล่านั้น ได้ร่วมกันซิกรุลเลาะฮ์แล้ว พวกเขาก็จะล้อมวงสนทนากันในการตำหนิวิจารณ์บรรดาซอฮาบะฮ์ พยายามเปรียบเทียบให้มีความเหลื่ยมล้ำในระหว่างซอฮาบะฮ์ และการทำาการตำหนิวิจารณ์อีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งการกระทำของพวกค่อวาริจญฺนี้ เป็นบิดอะฮ์และไม่มีการพูดกันในสมัยของซอฮาบะฮ์ก่อนจากนั้น และท่านอิบนุมัสอูดก็ตระหนักดีกับพฤติกรรมของพวกเขา ดังนั้น การตำหนิของท่านอิบนุมัสอูดนั้น ไม่ใช่ตัวของการล้อมวงซิกรุลเลาะฮ์ แต่เป็นการตำหนิสิ่งบิดอะฮ์ที่เพิ่มขึ้นมา คือการล้อมวงร่วมกันวิจารณ์บรรดาซอฮาบะฮ์
เมื่อท่านผู้อ่านเข้าใจในสิ่งดังกล่าว เราก็อยากจะสร้างความเข้าใจกับพี่น้องวะฮาบีย์ว่า ในปัญหาเรื่องการอิจญฺฮาด หรือการกระทำที่มีตัวบท ไม่ว่าจะมีตัวบทความเฉพาะหรือกว้างๆมารับรองนั้น ก็ไม่สมควรที่จะกล่าวหาพี่น้องมุสลิมด้วยกันว่าทำบิดอะฮ์ ชิริก หรือกระทำสิ่งที่หะรอม ด้วยกับการอ้างหลักฐานที่มีสายรายงานที่ฏออีฟ

การรวมตัวกันปลอมใจครอบครัวมัยยิดและครอบมัยยิดทำอาหารให้

การรวมตัวที่บ้านครอบครัวมัยยิดเพื่อทำการปลอบใจและครอบมัยยิดต้องทำอาหารเลี้ยงนั้น ถือว่าเป็นสิ่งที่มักโระฮ์(ไม่ควรกระทำ)ตามทัศนะของปวงปราชญ์ เนื่องจากดังกล่าวนั้น มันจะสร้างความโศกเศร้ายิ่งขึ้นให้กับครอบครัวมัยยิด ชนอาหรับในยุคก่อนนั้น ตามประเพณีแล้ว เมื่อมีญาติพี่น้องของพวกเขาได้เสียชีวิต พวกเขาก็จะไปรวมตัวกันที่บ้านครอบครัวมัยยิดเพื่อทำการปลอบใจและไว้อาลัย เมื่อมีผู้คนมารวมตัวกันที่บ้าน ด้วยความละอายของครอบมัยยิด ก็มีความจำเป็นในการที่ครอบมัยยิดต้องทำอาหารเลี้ยง ซึ่งดังกล่าวย่อมเป็นสิ่งที่ศาสนาไม่ส่งเสริมแต่อย่างไร เนื่องจากจะตอกย้ำความโศรกเศร้าให้แก่ครอบมัยยิดแล้ว ก็ยังต้องเป็นภาระกับพวกเขาในการทำอาหารเลี้ยง

ท่านอิมามอะหฺมัด และท่านอิบนุมาญะฮ์ ได้รายงาน ด้วยสายสืบที่ซอฮิหฺ จากท่าน ญะรีร บิน อับดุลและฮ์ เขากล่าวว่า

كنا نعد الإجتماع إلى أهل الميت وصنعهم الطعام من النياحة

" เราถือว่า การรวมตัวกัน ยัง(บ้าน)ครอบครัวของผู้ตาย และการที่พวกเขาทำอาหารนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากการ คร่ำครวญถึงผู้ตาย"

ดังกล่าวนี้ บรรดาอุลามาอ์หะนะฟีย์กล่าวว่า เป็นการมักโระฮ์ กับการทำอาหารในวันที่หนึ่ง สอง และสาม และหลังจากหนึ่งสัปดาห์" ดู หาชียะฮ์ อิบนุ อาบิดีน เล่ม 2 หน้า 240

อิบนุตัยมียะฮกล่าวว่า

وأما صنعة أهل الميت طعاما يدعون الناس إليه، فهذا غير مشروع وإنما هو بدعة، بل قد قال جرير بن عبد كنا نعد الاجتماع إلى أهل الميت، وصنعتهم الطعام للناس من النياحة‏

สำหรับการที่ครอบครัวผู้ตายทำอาหาร เชิญผู้คนมานั้น นี้คือ ไม่มีบัญญัติใช้ และความจริงมันเป็น บิดอะฮ แต่ทว่าแท้จริง ญะรีร บุตร อับดุลลอฮ (ร.ฎ)กล่าวว่า “พวกเรานับว่า การชุมนุมกันที่ครอบครัวผู้ตายและพวกเขาทำอาหาร ให้ผู้คนกินกันนั้น เป็นสวนหนึ่งจาก นิยาหะฮ " ดู ฟะตาวาอิบนุตัยมียะฮ์ เล่ม 24 หน้า 316

ในหนังสือ อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน ได้รูปแบบของอาหรับเอาไว้ว่า

فى العرف الخاص فى بلدة لمن بها من الأشخاص إذا إنتقل إلى دار الجزاء وحضر معارفه وجيرانه العزاء، جرى العرف بأنهم ينتظرون الطعام، ومن غلبة الحياء على أهل الميت يتكلفون التكليف التام، ويهيئون لهم أطعمة عديدة، ويحضرونها لهم بالمشقة الشديدة

"ในประเพณีที่เฉพาะ ในเมืองหนึ่ง ให้กับบรรดาบุคคลต่างๆที่อยู่เมืองนั้น คือ เมื่อมีผู้ที่กลับไปสู่โลกแห่งการตอบแทน(กลับไปสู่ความเมตตาของอัลเลาะฮ์) โดยที่บรรดาคนรู้จักและบรรดาเพื่อนบ้านก็มากัน(ที่บ้านครอบครัวมัยยิด)เพื่อจะทำการปลอบใจ ประเพณีนั้นก็มีอยู่ว่า พวกเขาเหล่านั้นก็ได้รอรับอาหารกัน และจากความละอายอย่างยิ่งที่มีต่อครอบครัวมัยยิดนั้น พวกเขาจึงรับภาระในการใช้จ่ายแบบเสร็จสรรพ แล้วครอบครัวมัยยิดก็ทำการตระเตรียมอาหารให้แก่พวกเขาหลายอย่าง และครอบครัวมัยยิดก็นำอาหารเหล่านั้นมาให้กับพวกเขาด้วยความลำบากอย่างมาก" ดู เล่ม 2 หน้า 228

ในหนังสือ อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน กล่าวระบุไว้ว่า

ويكره لأهل الميت الجلوس للتعزية ، وصنع طعام يجمعون الناس عليه ، لما روى أحمد عن جرير بن عبد الله الجبلى ، قال : كنا نعد الإجتماع إلى أهل الميت وصنعهم الطعام بعد دفنه من النياحة...ويستحب لجيران أهل الميت...أن يصنعوا لأهله طعاما يكفيهم يوما وليلة ، وأن يلحوا عليهم فى الأكل . ويحرم صنعه للنائحة، لأنه إعانة على معصية

"มักโระฮ์(ไม่ทำดีแต่หากทำก็ไม่เป็นไร) สำหรับครอบครัวมัยยิด กับการนั่งเพื่อให้ทำการปลอมใจ และ(ครอบครัวมัยยิด)ทำอาหารโดยที่พวกเขาทำการรวมผู้คน(ที่มาไว้มาปลอบใจ)มารับประทานอาหาร เพราะมีร่องรอยที่รายงานโดย ท่านอะหฺมัด จากท่าน ญะรีร บิน อับดิลลาฮ์ อัล-ญะบะลีย์ เขากล่าวว่า เราถือว่า การรวมตัวไปยังบ้านมัยยิดและการที่ครอบมัยยิดทำอาหารหลังจากฝังมัยยิดแล้วนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากการไว้อาลัย.....และสุนัติให้กับเพื่อนบ้านของครอบครัวมัยยิด กับการทำอาหารให้แก่ครอบครัวมัยยิด ให้เพียงพอกับพวกในวันหนึ่งและคืนหนึ่ง และทำการคะยั้นคะยอให้พวกเขารับประทาน และหะรอมทำอาหารแก่หญิงที่ทำการคร่ำครวญไว้อาลัย เพราะมันเป็นการช่วยเหลือกับสิ่งที่ฝ่าฝืน " ดู เล่ม 2 หน้า 227 ดารุลฟิกรฺ

ท่าน อัลลามะฮ์ ญะมัล ได้กล่าวไว้ใน บัรหฺ อัลมันฮัจญฺ ว่า

"แต่ทั้งหมดดังกล่าวนั้น อาจกลายเป็นหะรอม หากเอามาจากทรัยพ์ที่ถูกอายัดไว้ หรือจากทรัพย์ที่ใช้หนี้แก่มัยยิด หรือทรัพย์ที่ทำให้เกิดโทษ(เดือนร้อน) และเหมือนกับสิ่งดังกล่าว" ดู อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน เล่ม 2 หน้า 228

ท่าน อะหฺมัด บิน ซัยนีย์ ดะหฺลาน กล่าวฟัตวาไว้ว่า

"ไม่เป็นที่สงสัยว่า การห้ามผู้คนจากการทำบิดอะฮ์ที่น่าตำหนินี้ เป็นการฟื้นฟูซุนนะฮ์ และทำให้ตายกับบิดอะฮ์(คือการที่ไปรวมตัวกันปลอมใจและรอเลี้ยงอาหารจากครอบครัวผู้ตาย) และเป็นการเปิดประตูแห่งความดี และเปิดประตูแห่งความชั่ว เพราะแท้จริง บรรดาผู้คน(ครอบครัวผู้ตาย) ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากจนอาจจะทำให้การทำอาหารนั้นเป็นสิ่งที่หะรอม" ดู อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน เล่ม 2 หน้า 228

ท่านอิมามรอมลีย์ได้กล่าวไว้ในหนังสือ นะฮายะตุลมั๊วะตาจญฺ ว่า

ويكره كما فى الأنوار وغيره أخذا من كلام الرافعى والمصنف أنه بدعة لأهله صنع طعام يجمعون الناس عليه قبل الدفن وبعده لقول جرير : كنا نعد ذلك من النياحة، والذبح والعقر عند القبر مذموم للنهى

" และถือว่าเป็นมักโระฮ์ - เสมือนที่ระบุไว้ในหนังสือ อัลอันวารและอื่นๆ - โดยเอามาจาก คำกล่าวของ ท่านอัรรอฟิอีย์และผู้ประพันธ์หนังสือมินฮาจ(คืออิมามนะวาวีย์) ว่า มันเป็นบิดอะฮ์(ที่มักโระฮ์)ให้กับครอบครัวมัยยิด ที่ทำอาหารโดยที่ผู้คนก็รวม(เพื่อมาปลอบใจและไว้อาลัย)กันรับประทานอาหารนั้น ไม่ว่าจะก่อนฝังหรือหลังฝังมัยยิด เพราะคำกล่าวของท่านญะรีรที่ว่า "เราถือว่าสิ่งดังกล่าวนั้นเป็นส่วนหนึ่งจากการไว้อาลัย" และการเชือดสัตว์ที่กุบูร ย่อมเป็นสิ่งที่ถูกตำหนิ เป็นได้มีบัญญัติห้ามมัน" ดู เล่ม 3 หน้า 42 ตีพิมพ์ มุสต่อฟา หะละบีย์

และเป้าหมายที่บิดอะฮ์น่าตำหนิหรือบิดอะฮ์มักโระฮ์นั้น ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลฮัยตะมีย์ ได้กล่าวอธิบายไว้ว่า

لما صح عن جرير رضى الله عنه كنا نعد الإجنماع إلى أهل الميت وصنعهم الطعام بعد دفنه من النياحة) ووجه عده من النياحة ما فيه من شدة الإهتمام بأمر الحزن ومن ثم كره اجتماع أهل الميت ليقصدوا بالعزاء

"เพราะว่า มีร่องรอยจากท่านญะรีร(ร.ฏ.) ที่ว่า "เราถือว่าการรวมตัวกันไปยังครอบครัวมัยยิด และครอบครัวมัยิดทำอาหารให้หลังจากฝังมัยยิดแล้วนั้น เป็นส่วนหนึ่งจากการไว้อาลัยคร่ำครวญ" หนทางที่นับว่ามันเป็น จากการอาลัยคร่ำครวญ คือ สิ่งที่มาจากการให้การความเน้นหนักด้วยสิ่งที่ทำให้โศรกเศร้า และจากดังกล่าวนั้น จึงมักโระฮ์กับการรวมตัวไปยังบ้านมัยยิด อันเนื่องจากเพราะพวกเขาตั้งใจจะไปปลอมใจ" ดู หนังสือตั๊วะหฺ ฟะตุลมั๊วะหฺตาจญฺ เล่ม 3 หน้า 207 ตีพิมพ์ ดาร. เอี๊ยะหฺยา อัตตุร๊อษ อัลอะร่อบีย์


และอ่านไปอีก หนึ่งบรรทัด ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลฮัยตะมีย์ กล่าวต่อว่า

نعم ان فعل لأهل الميت مع العلم بأنهم يطعمون من حضرهم لم يكره وفيه نظر ودعوى ذلك التضمن ممنوعة

" แต่ว่า หาก(อาหาร)ถูกทำให้แก่ครอบครัวมัยยิด พร้อมกับรู้ว่า ครอบครัวมัยยิด จะนำไปเลี้ยงอาหาร กับผู้ที่มาหาพวกเขา ก็ถือว่าไม่มักโระฮ์ และในมัน(คือการทให้แก่ครัวมัยยิด)นั้นถูกพิจารณาก่อน โดยที่การอ้างดังกล่าวเป็นการรวมถึงการนั่งปลอมใจ นั้น ย่อมเป็นสิ่งที่ถูกห้ามเด็ดขาด(กับการอ้างอย่างนั้น)" ดู หนังสือตั๊วะหฺ ฟะตุลมั๊วะหฺตาจญฺ เล่ม 3 หน้า 207 - 208

ดังนั้น จากสิ่งที่ได้กล่าวมาแล้ว เราสรุปได้ว่า การรวมตัวบ้านมัยยิดเพื่อการนั่งกันปลอบใจและครอบครัวมัยยิดเพียงลำพังต้องทำอาหารเลี้ยงนั้น ย่อมเป็นสิ่งที่ศาสนาไม่ส่งเสริมแต่ประการใด

การทำให้อาหารให้กับครอบครัวมัยยิด

เมื่อมีพี่น้องมุสลิมเสียชีวิต เราสมควรอย่างยิ่ง ในการช่วยเหลือครอบมัยยิดในการทำอาหารให้กับพวกเขาให้อิ่มท้องในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ซึ่งมันเป็นซุนนะฮ์ของท่านร่อซูลุลอฮ์(ซ.ล.)

ท่านอิมาม อัตติรมีซีย์ ท่านอัล-หากิม และอื่นจากทั้งสอง รายงานว่า แท้จริงท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวว่า

اصنعوا لأل جعفر طعاماً فقد جاءهم ما يشغلهم

"พวกท่านจงทำอาหารให้แก่ครอบครัวของญะฟัร เพราะแท้จริง ได้มีสิ่งที่ทำให้พวกเขายุ่งอยู่"
หะดิษนี้ ท่านอัตติรมีซีย์กล่าวว่า หะซัน และท่านฮากิมกล่าวว่า หะดิษนี้ ซอฮิหฺ

บรรดาปวงปราชญ์กล่าวว่า สุนัตให้เพื่อนบ้านเรือนเคียงหรือบรรดาญาติห่างๆ ทำการตระเตรียมอาหารให้แก่ครอบครัวมัยยิด โดยทำให้พวกเขาอิ่มในวันหนึ่งและคืนหนึ่ง และนี่ก็คือทัศนะของนักปราชญ์ส่วนมากและเป็นแนวทางของมัซฮับทั้งสี่

ท่านอิมามอัช-ชาฟิอีย์(ร.ฏ.) กล่าวว่า" ฉันรัก ที่จะให้เพื่อนบ้านของผู้ตาย หรือบรรดญาติของผู้ตาย ทำอาหารให้กับครอบมัยยิด ในวันที่เขาได้เสียชีวิต และอีกหนึ่งคืนของมัน โดยที่ทำให้พวกเขาอิ่ม เพราะสิ่งดังกล่าวนั้น เป็นซุนนะฮ์ และมีการระลึกที่มีเกียตริ โดยที่มันเป็นการกระทำของผู้ที่เป็นคนดีก่อนจากเราและหลังจากเรา" ดู หนังสือ อัล-อุมมฺ เล่ม 1 หน้า 247

การทำอาหารให้แก่ครอบครัวของมัยยิดนั้น เป็นสุนัต ไม่ใช่ เป็นวายิบ ดังนั้น การที่เราไม่ทำอาหารให้พวกเขานั้น ไม่ถือว่าเป็นบิดอะฮ์หรือกระทำบาป แต่ถือว่าเป็นมักโระฮ์ คือกระทำแล้วได้ผลบุญ หากไม่กระทำก็ไม่ได้รับโทษอะไร เนื่องจากสิ่งที่วายิบ(แบบฟัรดูกิยาฟะฮ์)ต่อบรรดาพี่น้องมุสลิมนั้น ก็คือการจัดการเกี่ยวกับมัยยิด คือการอาบน้ำศพ ห่อ ละหมาด และฝัง และการที่ศาสนาให้บรรดาพี่น้องมุสลิมทำอาหารให้แก่ครอบมัยยิดในหนึ่งวันและหนึ่งคืนนั้น เนื่องจากพวกเขากำลังโศกเศร้ากอปรกับมีภาระยุ่งอยู่กับการจัดการมัยยิด

ข้อเสนอแนะ

แต่ระบบของบ้านสังคมบ้านเรานั้น ถือว่าดี การให้ทำอาหารให้แก่ครอบครัวมัยยิดและให้พวกเขารับประทานจนอิ่มนั้น เป็นเรื่องที่บรรดาพี่น้องมุสลิมเมืองไทยบ้านเราทำกันอยู่แล้ว และยิ่งไปกว่านั้น บรรดาพี่น้องมุสลิมก็จะช่วยกันทำอาหารและทำบุญให้กับครอบครัวของมัยยิด โดยที่การพวกเขาจะทำการบริจาคเงินในขณะที่ไปเยี่ยมมัยยิด และมีระบบการช่วยเหลือที่ดี ปัจจุบันนี้ แม้กระทั้งหมู่บ้านกระผมเอง ก็มีระบบการช่วยเหลือที่ดี คือจะมีการรวมกลุ่มเป็นสมาชิก เพื่อทำการช่วยเหลือครอบครัวผู้ตาย โดยผู้อิมามมัสยิด หรือผู้นำในท้องถิ่น ได้ตั้งกรรมการและทำการนำเสนอโครงการร่วมเป็นสมาชิกโดยสมัครใจเพื่อการช่วยเหลือครอบครัวผู้ตาย โดยมีการตกลงร่วมกันว่า หากมีพี่น้องมุสลิมใดเสียชีวิต พวกเราจะทำการช่วยเหลือกันในวงเงินอย่างต่ำ เท่านั้น เท่านี้ แล้วแต่สมาชิกในหมู่บ้านจะตกลงกัน เช่น อย่างต่ำ 50 บาท เป็นต้น ซึ่งหากมีพี่น้องมุสลิมเสียชีวิต กรรมการก็จะทำการเก็บเงินของสมาชิกที่ได้ถูกระบุชื่อที่ตกลงกันไว้ หากมีสมาชิก 100 คน เมื่อมีพี่น้องเสียชีวิต ครอบครัวผู้ตายก็จะได้รับการช่วยเหลืออย่างต่ำ 5000 บาท และหากมีสมาชิก 200 คน ครอบผู้ตายก็จะได้รับการช่วยเหลืออย่างต่ำ 10000 บาท ซึ่งดังกล่าวนี้ ถือว่เป็นการเป็นการริเริ่มและช่วยเหลือกันการในการทำความดี

ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) กล่าวว่า

من سن في الإسلام سنة حسنة فله أجرها وأجر من عمل بها بعده من غير أن ينقص من أجورهم شيء ومن سن في الإسلام سنة سيئة كان عليه وزرها ووزر من عمل بها من بعده من غير أن ينقص من أوزارهم شيء

" ผู้ใด ที่ได้ริเริ่มทำขึ้นมา ในอิสลาม กับหนทางที่ดี แน่นอน ผลตอบแทนของมัน ก็มีให้แก่เขา และผลตอบแทนของผู้ที่ได้ปฏิบัติด้วยกับมัน จากหลังเขา(เสียชีวิตไปแล้วก็ได้กับเขา) โดยไม่มีสิ่งใดลดลงไปเลย จากผลการตอบของพวกเขา และผู้ใด ทีได้ทำขึ้นมา ในอิสลาม กับหนทางที่เลว แน่นอน บาปของมันก็ตกบนเขา และบาปของผู้ที่ปฏิบัติมัน จากหลักเขา(เสียชีวิตไปแล้วก็ตกบนเขา) โดยไม่มีสิ่งใดบกพร่องลงไปเลย จากบรรดาบาปของพวกเขา" (รายงานโดย ท่านอิมาม มุสลิม ไว้ในซอเฮี๊ยะหฺของท่าน หะดิษที่ 1017)

ดังนั้น จำนวนเงินดังกล่าวที่บรรดาพี่น้องมุสลิมได้ช่วยเหลือกับครอบมัยยิดนั้น ก็ถือเป็นโอกาสดีที่ครอบมัยยิดจะทำการเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตาย โดยบรรดาพี่น้องมุสลิม มาช่วยกันทำอาหารที่บ้านครอบครัวมัยยิดและทำอาหารให้แก่ครอบมัยยิดด้วย และดังกล่าวก็ย่อมเป็นการปลอมใจโดยอยู่เป็นเพื่อนให้คลายเหงาและคลายโศรกเศร้าแก่ครอบครัวมัยยิด เราจะทำบุญเลี้ยงอาหารกี่วันก็ได้ แล้วแต่สะดวก หนึ่งวัน สองวัน หรือสามวันก็ดี หากทำบุญ 7 วันก็ยิ่งดี นั่นสำหรับผู้ที่มีความสามารถ สำหรับครอบครัวที่ไม่มีความสามารถและไม่มีระบบที่ดีจากการช่วยเหลือจากพี่น้องมุสลิม ก็ไม่สมควรหรือกระเสือกกระสนไปทำบุญ บางท่านกลับยืมเงินผู้อ่านมาทำบุญ(อาจจะมีแต่ผมไม่เคยได้ยิน) ซึ่งกรณีแบบนี้ ถือว่าเป็นการกระทำที่น่าตำหนิเป็นอย่างยิ่ง อาจจะถึงขั้นหะรอม - วัลลอฮุอะลัม และการจำกัดวันทำบุญ 40 วัน หรือ 100 วันนั้น ถือว่าเป็นบิดอะฮ์ ไม่มีหลักการของศาสนา ดังนั้นหากทายาทของมัยยิดต้องการจะทำบุญเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทานซอดะเกาะฮ์แก่มัยยิดนั้น ก็สามารถกระทำได้เมื่อมีความสะดวกโดยไม่ต้องไปจำกัดว่าต้อง 40 วัน หรือ 100 วัน - วัลลอฮุอะลัม และถ้าหากทายาทผู้ตาย มีความพร้อมและตกลงกันในการทำบุญเลี้ยงอาหาร เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่มัยยิด ก็อนุญาติให้กระทำได้ตามโอกาสและความสะดวก และทำได้ทุกเวลา แม้จะเป็นการให้อาหารหรือเลี้ยงอาหารแค่ 2 - 3 คน ก็ให้กระทำได้ และผู้ตายก็ได้รับผลบุญนั้นด้วย และหากว่ามัยยิดของทายาทเป็นบิดามารดาแล้ว ก็จะได้รับผลบุญโดยตรงไม่ว่าจะทำมากทำน้อยและไม่ว่าจะเวลาใด - วัลลอฮุอะลัม

หากครอบครัวหรือทายาทผู้ตาย มีทรัพย์สินมากพอและมีมติในทายาทที่มีสิทธิ์ได้รับมรดก ว่าให้ทำบุญเลี้ยงอาหารเพื่อซอดาเกาะฮ์แต่ผู้ตายนั้น ก็อนุญาติให้กระทำได้ ไม่ว่าจะเป็นการบริจาคอาหารแบบข้าวสาร หรือทำการปรุงอาหารเลี้ยงพี่น้องมุสลิม ก็ถือให้กระทำได้ หากมีทายาทบางคนไม่ยินยอมในการเอาทรัพย์สินมาทำบุญเลี้ยงอาหาร ก็อนุญาติให้ทายาทที่ต้องการจะทำบุญเลี้ยงอาหารนั้น เอามรดกส่วนที่เขาได้รับมาทำบุญเลี้ยงอาหาร ผู้อ่านโปรดเข้าใจว่า มรดกหรือทรัพย์สินที่ผู้ตายทิ้งไว้ให้ทายาทนั้น ย่อมเป็นกรรมสิทธิ์ของทายาทผู้ตาย การนำทรัพย์สินมาใช้ ก็ต้องได้รับการยินยอมจากทายาท แต่มีบางคนพูดอย่างผิดๆว่า "มันเป็นมรดกของคนตาย" หากทำกินบุญก็เท่ากับกินมรดกของคนตาย!!! ซึ่งคำพูดแบบนี้ ถือว่าผิดและไม่ถูกต้องตามหลักศาสนา เนื่องจากผู้ตายนั้นไม่มีทรัพย์สินใดที่เป็นกรรมสิทธิ์ของเขาแล้ว แต่มันเป็นกรรมสิทธิ์ของทายาท

หลักฐานที่อนุญาตทำบุญเลี้ยงอาหาร

กรณีทำบุญบ้านคนตายนั้น เป็นประเด็นที่สร้างความกระด้างกระเดื่องในบรรดพี่น้องมุสลิมด้วยกัน อันเนื่องจากการมีทัศนะที่แตกต่างกันและไม่มีความเข้าใจกันนั่นเอง ซึ่งปัญหาเหล่านี้ เราน่าจะมาสร้างความเข้าใจกันและกันในหมู่พี่น้องมุสลิม และพยายามชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การรวมตัวบ้านมัยยิดเพื่อทำการปลอบใจไว้อาลัยและครอบมัยยิดต้องทำอาหารเลี้ยงให้ตามลำพังนั้นเป็นสิ่งที่ศาสนาไม่ส่งเสริม ซึ่งแตกต่างกับ สิ่งที่พี่น้องมุสลิมบ้านเรากระทำอยู่จากการทำบุญเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทานซอดาเกาะฮ์ คือไปรวมตัวกันเพื่อทำการอ่านอัลกุรอาน ซิกรุลเลาะฮ์ กล่าวตะฮ์ลีล อิสติฆฟาร และทำการดุอาอ์ให้แก่มัยยิด โดยที่บรรดาพี่น้องมุสลิมได้ช่วยเหลือกันทำอาหารให้แก่ครอบมัยยิด ซึ่งสิ่งดังกล่าวนั้น ย่อมเป็นผลประโยชน์แก่ผู้ตายอย่างแท้จริง ฉะนั้น ข้อแตกต่างนี้เราจึงสามารถแยกแยะได้อย่างชัดเจนและอย่าเอาไปเหมารวมกัน

1- ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ได้กล่าวไว้รายงาน จากท่าน อะหฺมัด บิน มะนีอฺ ซึ่งเขาได้กล่าวรายงานไว้ใน มุสนัดของเขาว่า

عن الأحنف بن قيس قال : كنت أسمع عمر يقول : لا يدخل أحد من قريش فى باب إلا دخل معه ناس ، فلا أدرى ما تأويل &

_________________
ต่อต้านวะฮาบีย์บิดอะฮ์พันธ์ใหม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
มุหัมมัด
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 06/11/2005
ตอบ: 210


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 10:17 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

หลักฐานที่อนุญาตทำบุญเลี้ยงอาหาร

กรณีทำบุญบ้านคนตายนั้น เป็นประเด็นที่สร้างความกระด้างกระเดื่องในบรรดพี่น้องมุสลิมด้วยกัน อันเนื่องจากการมีทัศนะที่แตกต่างกันและไม่มีความเข้าใจกันนั่นเอง ซึ่งปัญหาเหล่านี้ เราน่าจะมาสร้างความเข้าใจกันและกันในหมู่พี่น้องมุสลิม และพยายามชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การรวมตัวบ้านมัยยิดเพื่อทำการปลอบใจไว้อาลัยและครอบมัยยิดต้องทำอาหารเลี้ยงให้ตามลำพังนั้นเป็นสิ่งที่ศาสนาไม่ส่งเสริม ซึ่งแตกต่างกับ สิ่งที่พี่น้องมุสลิมบ้านเรากระทำอยู่จากการทำบุญเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทานซอดาเกาะฮ์ คือไปรวมตัวกันเพื่อทำการอ่านอัลกุรอาน ซิกรุลเลาะฮ์ กล่าวตะฮ์ลีล อิสติฆฟาร และทำการดุอาอ์ให้แก่มัยยิด โดยที่บรรดาพี่น้องมุสลิมได้ช่วยเหลือกันทำอาหารให้แก่ครอบมัยยิด ซึ่งสิ่งดังกล่าวนั้น ย่อมเป็นผลประโยชน์แก่ผู้ตายอย่างแท้จริง ฉะนั้น ข้อแตกต่างนี้เราจึงสามารถแยกแยะได้อย่างชัดเจนและอย่าเอาไปเหมารวมกัน

1- ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ได้กล่าวไว้รายงาน จากท่าน อะหฺมัด บิน มะนีอฺ ซึ่งเขาได้กล่าวรายงานไว้ใน มุสนัดของเขาว่า

عن الأحنف بن قيس قال : كنت أسمع عمر يقول : لا يدخل أحد من قريش فى باب إلا دخل معه ناس ، فلا أدرى ما تأويل قوله حتى طعن عمر فأمر صهيبا أن يصلى بالناس ثلاثا ، وأمر أن يجعل للناس طعاما فلما رجعوا من الجنازة جاءوا وقد وضعت الموائد ، فأسك الناس عنها للحزن الذى هم فيه فجاء العباس بن عبد المطلب ، فقال : ياأيها الناس قد مات...الحديث

" รายงานจากอะหฺนัฟ บิน กัยซฺ เขากล่าวว่า ฉันได้ยินท่านอุมัรกล่าวว่า "คนหนึ่งจากกุร๊อยช์ จะไม่เข้าในประตูหนึ่ง นอกจากว่า ต้องมีผู้คนเข้ามาพร้อมกับเขาด้วย" ดังนั้น ฉันจึงไม่รู้ถึงการตีความคำพูดของท่านอุมัร จนกระทั้ง ท่านอุมัรได้ถูกลอบแทง แล้วท่านอุมัรจึงใช้ให้ ท่านซุฮัยบ์ ทำการนำละหมาด(ญะนาซะฮ์)สามรอบด้วยกัน และท่านอุมัรก็ใช้ให้เขาทำอาหารให้แก่บรรดาผู้คน ดังนั้น ในขณะที่ผู้คนได้กลับมาจาก(ฝัง)ญะนะซะฮ์ พวกเขาก็กลับมา โดยมีบรรดสำหรับอาหารวางอยู่แล้ว แต่บรรดาผู้ตนก็งดที่จะรับประทานนั้น อันเนื่องจากความโศรกเศร้าที่พวกเขาเป็นอยู่ ดังนั้นท่าน อัลอับบาส บิน อบูฏอลิบ ก็มา แล้วกล่าวว่า โอ้บรรดาผู้คนทั้งหลาย แท้จริงท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.)ได้เสียชีวิตไปแล้ว....." สายรายงาน "หะซัน" ดู หนังสือ อัลมะฏอลิบ อัลอาลิยะฮ์ บิ ซฺะวาอิด อัลษะมานียะฮ์ เล่ม 1 หน้า 198 หะดิษที่ 709

ท่าน มุหัดดิษ ชัยค์ หะบีบ อัร-เราะหฺมาน อัล-อะซ่อมีย์ กล่าว วิจารณ์ว่า หะดิษนี้ สายรายงาน หะซัน (ดี) ท่านอัลบูซิรีย์ กล่าวว่า ในสายรายงานนี้ มี อลี บิน ซัยด์ บิน ญัดอาน และที่สมบูรณ์ของหะดิษนั้น คือ.... ท่าน อัลอับบาส บิน อบีฏอลิบกล่าวว่า

فقال يا أيها الناس قد مات رسول الله عليه وسلم فأكلنا بعده وشربنا ومات أبو بكر فأكلنا بعده وشربنا أيها الناس كلوا من هذا الطعام فمد يده ومد الناس أيديهم فأكلوا فعرفت تأويل قوله ) كذا فى الإتحاف

" ดังนั้น ท่านอัล-อับบาส บิน อับดุลมุฏฏอลิบกล่าวว่า โอ้บรรดาผู้คนทั้งหลาย แท้จริง ท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) ก็ได้เสียชีวิตไปแล้ว แล้วเราก็ทำการรับประทานและดื่มหลังจากนั้น และท่านอบูบักร ก็ได้เสียชีวิตไปแล้ว และเราก็ทำการรับประทานและดื่มหลักจากนั้น โอ้บรรดาผู้คนทั้งหลาย พวกท่านจงรับประทานจากอาหารนี้เถิด ดังนั้น ท่านอับบาสก็ยื่นมือของท่าน และบรรดาผู้คนที่ยื่นมือของพวกเขา แล้วก็พวกเขาก็ทำการรับประทาน ดังนั้น ฉัน (คือ อัลอะหฺนัฟ บิน ก๊อยซฺ) จึงรู้การตีความคำพูดของท่านอุมัร" และได้รายงานเช่นเดียวกันนี้ อยู่ในหนังสือ อัลอิตหาฟ " ดู หนังสือ อัลมะฏอลิบ อัลอาลิยะฮ์ บิ ซฺะวาอิด อัลษะมานียะฮ์ เล่ม 1 หน้า 198 - 199

2- ท่านอัล-หาฟิซฺ อิบนุ หะญัร อัล-อัสเกาะลานีย์ ได้ทำการรายงาน จากท่านอิมามอะหฺมัด โดยที่ท่านอะหฺมัด ได้รายงานไว้ใน หนังสือ อัซซุอฮ์ดฺ ว่า

سفيان قال ، قال طاووس : إن الموتى يفتنون فى قبورهم سبعاَ وكانوا يستحبون أن يطعموا عنهم تلك الأيام

" ท่านซุฟยานกล่าวว่า ท่านฏอวูสกล่าวว่า แท้จริงผู้ตายนั้น พวกเขากำลังถูกสอบถามในกุบูรของพวกเขา ถึง 7 วัน และบรรดาซอฮาบะฮ์มีความชอบที่จะทำการเลี้ยง(ให้)อาหารแทนจากพวกเขา ในเจ็ดวันดังกล่าว" ท่าน ชัยค์ อัลอะซ่อมีย์กล่าวว่า สายรายงานหะดิษนี้ قوى (มีน้ำหนัก) หนังสือ อัลมะฏอลิบ อัลอาลิยะฮ์ บิ ซฺะวาอิด อัลษะมานียะฮ์ เล่ม 1 หน้า 199

ท่านอัล-หาฟิซฺอิบนุ หะญัร อัลฮัยตะมีย์ กล่าวว่า " ได้มีสายรายงานที่ซอฮิหฺเช่นกัน จากท่าน ฏอวูส ว่า บรรดาซอฮาบะฮ์นั้น ได้ทำการเลี้ยง(ให้)อาหารแทนจากมัยยิด ใน 7 วันดังกล่าว และคำกล่าวนี้ เป็นคำกล่าวของตาบิอีย์ ว่าบรรดาซอฮาบะฮ์ได้กระทำสิ่งดังกล่าว และในคำกล่าวของตาบิอีย์นี้ ได้มีอยู่ 2 ทัศนะด้วยกันจากคำกล่าวของนักปราชญ์หะดิษและอุซูลุลฟิกห์

1. คำกล่าวของตาบิอีย์นี้ (คือท่านฏอวูส) อยู่ในบทการรายงานที่ มัรฟั๊วะ คือไปถึงสมัยของท่านนบี(ซ.ล.) ซึ่งความหมายของมันก็คือ บรรดาซอฮาบะฮ์ทั้งหลายได้กระทำการเลี้ยง(ให้)อาหาร ในสมัยของท่านร่อซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) โดยที่ท่านร่อซูลทราบในสิ่งดังกล่าว หรือถูกบอกให้ทราบต่อท่านนบี(ซ.ล.)

2. คำกล่าวของตาบิอีย์นี้ผคือท่านฏอวูส) อยู่ในเรื่องของการอ้างถึงบรรดาซอฮาบะฮ์เท่านั้น โดยไม่ถึงท่านนบี(ซ.ล.) เมื่อเป็นเช่นนี้ ถึงถูกกล่าวว่า คำกล่าวของตาบีอีย์(คือท่านฏอวูส) เป็นการบอกเล่าจากบรรดาซอฮาบะฮ์ทั้งหมด ดังนั้น คำกล่าวของท่านฏอวูสนี้จึงเป็นการ ถ่ายทอดถึงมติของบรรดาซอฮาบะฮ์ และบางทัศนะกล่าวว่า ถ่ายทอดเพียงบางส่วนของซอฮาบะฮ์ ซึ่งเป็นทัศนะที่อิมามอันนะวาวีย์ได้ให้น้ำหนักเอาไว้ใน ชัรหฺมุสลิม และอิมามอัรรอฟิอีย์ ได้กล่าวเช่นเดียวกับคำนี้ ซึ่งจุดมุ่งหมายก็คือ การเลี้ยง(ให้)อาหารนั้น เป็นสิ่งที่แพร่หลายในสมัยของซอฮาบะฮ์ดังกล่าว โดยไม่ได้ถูกตำหนิแต่ประการใด...หากท่านกล่าวว่า เพราะเหตุใด การเลี้ยง(ให้)อาหารถึงต้องทำซ้ำกันถึง 7 วัน โดยที่ไม่ต้องอ่านตัลกีน 7 วัน ฉันขอกล่าวว่า เพราะผลประโยชน์ของการเลี้ยง(ให้)อาหารนั้น มันมีประโยชน์สูงกว่าและแผ่ไปถึงมัยยิดได้มากกว่า เพราะการเลี้ยง(ให้)อาหารแทนจากมัยยิดนั้น เป็น ซ่อดาเกาะฮ์(บริจาคทาน) ซึ่งมันเป็น สุนัติ โดยมติเอกฉันท์... " ดู หนังสือ อัล-ฟะตาวา อัล-ก๊อบรอ อัลหะดีษะฮ์ ของท่านอิบนุหะญัร อัลฮัยตะมีย์ เล่ม 2 หน้า 30 - 31

ดังนั้น การทำบุญ ก็คือ การเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นทานซอดาเกาะฮ์แก่มัยยิดนั่นเอง และบรรดาพี่น้องมุสลิมก็รวมตัวกันทำการอ่านอัลกุรอาน ซิกรุลเลาะฮ์ กล่าวตะฮ์ลีล อิสติฆฟาร และทำการดุอาอ์ให้แก่มัยยิด ซึ่งดังกล่าวย่อมเป็นประโยชน์และผลบุญถึงไปยังมัยยิด อินชาอัลเลาะฮ์
ท่านอิมาม อันนะวาวีย์กล่าวไว้ในหนังสือ อัลมัจญฺมั๊วะของท่านว่า

أجمع المسلمون على أن الصدقة عن الميت تنفعه وتصله

"บรรดามุสลิมีน ได้อิจญฺมติว่า การทำทานแก่มัยยิดนั้น ย่อมเป็นประโยชน์แก่มัยยิดและผลบุญถึงกับมัยยิด" ดู มัจญฺมั๊วะ เล่ม 5 หน้า 209

ท่าน อิบนุ กุดามะฮ์ กล่าวไว้ในหนังสือมุฆนีย์ของท่านว่า

[ ص: 225 ] فصل : وأي قربة فعلها , وجعل ثوابها للميت المسلم , نفعه ذلك , إن شاء الله , أما الدعاء , والاستغفار , والصدقة , وأداء الواجبات , فلا أعلم فيه خلافا , إذا كانت الواجبات مما يدخله النيابة , وقد قال الله تعالى : { والذين جاءوا من بعدهم يقولون ربنا اغفر لنا ولإخواننا الذين سبقونا بالإيمان } . وقال الله تعالى : { واستغفر لذنبك وللمؤمنين والمؤمنات }

" ไม่ว่าอิบาดะฮ์ใด ที่ทำมันขึ้นมา และทำการมอบผลบุญของมันให้แก่มัยยิดมุสลิมนั้น ดังกล่าวย่อมได้รับผลประโยชน์กับมัยยิด อินชาอัลเลาะฮ์ สำหรับการขอดุอาอ์ อิสติฆฟาร การทำทาน และการปฏิบัติสิ่งที่วายิบ เมื่อมันเป็นสิ่งวายิบสามารถทำแทนกันได้ (เช่นทำฮัจญฺแทนมัยยิด) ดังนั้น ฉันจึงไม่ทราบเลย ว่าในกรณีดังกล่าวนั้น มีการขัดแย้งกันเลย เพราะอัลเลาะฮ์ทรงตรัสไว้ว่า "และบรรดาบุคคลที่มาหลังจากพวกเขานั้น พวกเขาก็จะกล่าวว่า โอ้ ผู้อภิบาลของเรา พระองค์โปรดอภัยให้แก่เรา และแก่บรรดาพี่น้องของเรา ศรัทธาผ่านมาก่อนเราแล้ว " และพระองค์ทรงตรัสอีกว่า "ท่านจงขออภัยโทษให้กับบาปของเข้า และบรรดาผู้ศรัทธาทั้งหญิงและชาย" ดู หนังสือ มุฆนีย์ ของท่านอิบนุกุดามะฮ์ เล่ม 3 หน้า 369

ท่านอิบนุกุดามะฮ์กล่าวอีกว่า

وروى عمرو بن شعيب , عن أبيه , عن جده , { أن رسول الله صلى الله عليه وسلم قال لعمرو بن العاص : لو كان أبوك مسلما , فأعتقتم عنه , أو تصدقتم عنه , أو حججتم عنه , بلغه ذلك } . وهذا عام في حج التطوع وغيره , ولأنه عمل بر وطاعة , فوصل نفعه وثوابه , كالصدقة والصيام والحج الواجب

"รายงาน โดยอัมร์ บิน ชุอัยบ์ จากบิดาของเขา จากปู่ของเขา ว่า แท้จริงท่านรอซูลุลเลาะฮ์(ซ.ล.) กล่าวแก่ อัมร์ บิน อัลอาซ ว่า หากบิดาของท่านเป็นมุสลิม แล้วพวกท่านก็ทำการปล่อยทาสแทนให้กับเขา หรือทำการทานให้แก่เขา หรือทำฮัจญฺแทนจากเขา แน่นอนว่า ดังกล่าวย่อมไปถึงเขา " หลักฐานนี้ ย่อมครอบคลุมถึงเรื่องทำฮัจญฺสุนัตและอื่นๆ และเพราะว่า มันเป็นการปฏิบัติในเรื่องความดีงาม และการภักดี ดังนั้น ผลบุญและผลประโยชน์ย่อมไปถึงมัยยิด เช่นการทำทาน การถือศีลอด การทำฮัจญฺวายิบ " ดู หนังสือ มุฆนีย์ เล่ม 3 หน้า 372

ท่านอิบนุกุดามะฮ์กล่าวอีกว่า

وقال الشافعي : ما عدا الواجب والصدقة والدعاء والاستغفار , لا يفعل عن الميت , ولا يصل ثوابه إليه ; لقول الله تعالى : { وأن ليس للإنسان إلا ما سعى }

"ท่านอิมามชาฟิอีย์กล่าวว่า สิ่งที่อื่นจาก วายิบ(เช่นฮัจญฺ ศีลอด) การทำทาน (คุณอะสันบอกได้ไหมว่าการเลี้ยงอาหารไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งจากทำทาน) การขอดุอาอ์ และการอิสติฆฟาร นั้น จะไม่ถูกทำแทนให้กับมัยยิด และผลบุญก็จะไม่ไปถึงเขา เพราะอัลเลาะฮ์ทรงตรัสไว้ว่า "ไม่มีให้กับมนุษย์นอกจากสิ่งที่เขาได้กระทำไว้เท่านั้น" ดู หนังสือ อัลมุฆนีย์ เล่ม 3 หน้า 373

ท่านอิบนุกุดามะฮ์กล่าอีกว่า

وأنه إجماع المسلمين ; فإنهم في كل عصر ومصر يجتمعون ويقرءون القرآن , ويهدون ثوابه إلى موتاهم من غير نكير

" แท้จริง มันเป็นมติของบรรดามุสลิมีน เนื่องจากแท้จริง พวกเขาเหล่านั้น ในทุกสมัยและทุกเมือง ก็ได้รวมตัวกัน และทำการอ่านอัลกุรอานกัน และก็ทำการฮาดิยะฮ์ผลบุญการอ่านอัลกุรอาน ให้แก่บรรดาผู้ตายของพวกเขา โดยที่ไม่ได้รับการตำหนิแต่ประการใด" ดู หนังสือ อัลมุฆนีย์ เล่ม 3 หน้า 373

ท่าน อิบนุ มุฟลิหฺ (ศิษย์ของอิบนุตัยมียะฮ์) กล่าวไว้ว่า

وأى قرب فعلها من دعاء واستغفار وصلاة وصوم وحج وقراءة وغير ذلك وجعل ثواب ذلك للميت المسلم نفعه ذلك . قال أحمد : الميت يصل إليه كل شيء من الخير للنصوص الواردة فيه ولأن المسلمين يجتمعون فى كل مصر ويقرؤون ويهدون لموتاهم من غير نكير، فكان ذلك إجماعا وكالدعاء والإستغفار حتى لو اهداها للنبى صلى الله عليه وسلم، جاز ووصل اليه الثواب، ذكره المجد

" ไม่ว่าอิบาดะฮ์ใด ที่กระทำขึ้นมา จากการดุอา อิสติฆฟาร การละหมาด การถือศีลอด การทำฮัจญฺ การอ่านอัลกุรอาน และอื่นๆจากสิ่งดังกล่าว และเอาผลบุญดังกล่าวนั้น มอบแก่มัยยิดมุสลิม เขาย่อมได้รับผลประโยชน์จากสิ่งดังกล่าว ท่านอิมามอะหฺมัด กล่าวว่า ผู้ตายนั้น (ผลบุญ)จากถึงไปยังเขา กับทุกๆสิ่ง จากความดี เพราะมีบรรดาตัวบทได้รายงานเกี่ยวกับมัน . และเพราะบรรดามุสลิมีนในทุกเมือง ได้ทำการรวมตัวกัน และพวกเขาทำการอ่านอัลกุรอาน และพวกเขาก็ทำการฮะดียะฮ์(มอบผลบุญ)ให้แก่บรรดาผู้ตายของพวกเขา โดยไม่ได้รับการตำหนิเลย ดังนั้น ดังกล่าวย่อมเป็นมติ(อิจญฺมาอ์) และเช่นการขอดุอา และการอิสติฆฟาร นั้น หากแม้ว่า จะฮาดิยะฮ์มอบแก่ท่านร่อซูล(ซ.ล.) ก็ถือว่าอนุญาติ และผลบุญก็ถึงไปยังท่าน . ได้กล่าวมันโดยท่านอัลมุจญฺ" ดู หนังสือ อัลมุบดิอ์ ชัรหฺ อัลมุกเนี๊ยะอฺ ของท่าน อิบนุ มุฟลิหฺ เล่ม 2 หน้า 254
ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า

واما ما يصنع للميت ويصل اليه باتفاق العلماء وهو الصدقة ونحوها فاذا تصدق عن الميت بذلك المال لقوم مستحقين لوجه الله تعالي ، ولم يطلب منهم عملا أيضا ، كان نافعا للميت وللحى يتصدق عنه باتفاق العلماء

“สำหรับ สิ่งที่ถูกทำขึ้น ให้กับมัยยิด โดยที่ผลบุญก็ถึงมัยยิด โดยมติของปวงปราชน์ และสิ่งที่ถูกทำให้แก่มัยยิดนั้น คือ การทำทาน และอื่นๆ ดังนั้น เมื่อทรัพย์ดังกล่าวที่ทำทานให้กับมัยยิด กับกลุ่มชนที่มีสิทธิ์จะได้รับ(คือบรรดามุสลิมีน) เพื่ออัลเลาะฮ์ตะอาลา โดยที่ไม่ได้มีความต้องการจากพวกเขากับการกระทำ(ทำทาน)เช่นเดียวกัน มันก็เป็นผลประโยชน์ให้กับมัยยิด และอนุญาตให้กับคนเป็น ทำการทำทานแทนมัยยิด โดยมติของปวงปราชญ์ "ดู ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 142 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ

ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวอีกว่า

وأما الأكل من الطعام ، فان كان قد صنعه الوارث من ماله لم يحرم الأكل منه..إلخ

“ สำหรับการรับประทานอาหารนั้น หากว่าทายาทได้กระทำ(ปรุง)มันขึ้นมาจากทรัพย์สินของพวกเขา ก็ไม่หะรอมที่จะรับประทานจากมันและหาก(ทำทาน)สิ่งที่ถูกทำขึ้น จากมรดของมัยยิดโดยที่มัยยิดเองยังมีหนี้อยู่ที่ยังไม่ได้ชดใช้และมัยยิดก็มีทายาทที่เป็นเด็กที่ดังกล่าวเป็นสิทธิของพวกเขานั้น ก็จะกินไม่ได้ “ ริซาละฮ์ อิฮฺดาอ์ อัษษะวาบ ลิลนะบีย์(ซ.ล.) และมะอาฮา มะซาอิล ฟีอิหฺดาอ์ อัลกุรุบาต ลิลอัมวาต ของท่านอิบนุตัยมียะฮ์ หน้า 143 ตีพิมพ์ที่ อัฏวาอ์ อัสสะลัฟ

อิบตัยมียะฮ์ได้ถูกถามเกี่ยวกับ ผู้ที่กล่าว ตะฮ์ลีล ลาอิลาฮะอิลลัลลอฮ์ 70000 ครั้ง แล้ว ฮะดียะฮ์มอบผลบุญให้แก่มัยยิด โดยที่มัยยิดจะพ้นจากไฟนรกน้น เป็นหะดิษที่ซอเฮี๊ยะหฺหรือไม่? และผู้ที่ทำการกล่าวตะฮฺลีล และฮะดียะฮ์มอบผลบุญให้แก่มัยยิดนั้น ผลบุญจะไปถึงเขาหรือไม่ ?

อิบนุตัยมียะฮ์ตอบว่า

إذا هلل الإنسان هكذا : سبعون الفا، أو أقل أو أكثر وأهديت إليه نفعه الله بذلك، وليس هذا حديثا صحيحا ولا ضعيفا

"เมื่อคนหนึ่งได้ทำการกล่าว ตะฮ์ลีล (ลาอิลาฮะอิลลัลเลาะฮ์) เช่นนี้ 70000 ครั้ง หรือน้อยกว่านั้น หรือมากกว่านั้น แล้วดังกล่าวก็ถูกฮะดียะฮ์ให้แก่มัยยิด แน่นอน อัลเลาะฮ์จะให้ดังกล่าวมีผลประโยชน์แก่มัยยิด โดยที่หะดิษดังกล่าวนั้น ไม่ใช่หะดิษที่ซอฮิหฺ และฏออีฟ" ดู ฟาตาวา อิบนุตัยมียะฮ์ เล่ม 24 หน้า 301

อิบนุตัยมียะฮ์กล่าวอีกว่า

يصل إلى الميت قرأءة أهله وتسبيحهم وتكبيرهم، وسائر ذكرهم لله تعالى ، إذا أهدوه الى الميت وصل إليه . والله أعلم

"ผลบุญการอ่านอัลกุรอานของครอบครัวมัยยิด และตัสบีหฺ การกล่าวตักบีร และบรรดาซิกรุลเลาะฮ์อื่นๆ จะถึงมัยยิด ดังนั้น เมื่อพวกเขาได้ทำการฮะดียะฮ์มอบให้แก่มัยยิด ผลบุญก็จะไปถึงเขา" ดูฟีตวา อิบนุ ตัยมียะฮ์ เล่ม 24 หน้า 302


ท่านผู้อ่านครับ จากรายละเอียดที่ผมได้นำเสนอมานั้น ก็ทำให้รู้ถึงความสำคัญของญาติพี่น้องของเรา ซึ่งหากมีพี่น้องมุสลิมเสียชีวิต ก็ให้เราให้การช่วยเหลือ โดยการทำอาหารให้กับครอบมัยยิดเป็นอันดับแรก และหากจะทำการช่วยเหลือครอบมัยยิดมากกว่านั้น โดยมีระบบแบบแผนที่ดีในการร่วมมือกันช่วยเหลือตามที่ผมได้นำเสนอไปแล้วข้างต้น ก็จะเป็นการดียิ่งสำหรับผู้ที่สมัครใจครับ พี่น้องวะฮาบีย์ครับ ปัญหาข้อปลีกย่อยเหล่านี้ สมควรที่จะมีความใจกว้าง หากต่างฝ่ายก็มีหลักฐานที่ตนกระทำ การตะอัศศุบในทัศนะของตนและหุกุ่มผู้ที่ไม่ได้อยู่ในทัศนะของตนนั้น ย่อมเป็นการละเมิดในเรื่องศาสนา และนั่นก็ไม่ใช่แบบฉบับของสะลัฟ และเราก็ช่วยกันตักเตือนผู้ที่กระทำสิ่งที่ผิดหลักการครับ วัลลอฮุอะลัม

والسلام
الفاروق الشافعى

غفر الله له ولنا ولوالدينا

(ถ่ายทอดโดย มุหัมมัด)

_________________
ต่อต้านวะฮาบีย์บิดอะฮ์พันธ์ใหม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
มุหัมมัด
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 06/11/2005
ตอบ: 210


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 10:31 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อะสัน อะไรทีวะฮาบีย์เข้าใจว่า อุลามาอ์ท่านใดที่มีทัศนะไม่ตรงกับตัวเอง แล้วกล่าวว่า เราเอาของที่ถูกต้อง นั้น เป็นการกล่าวที่ไร้มารยาท ที่คิดว่าฝ่ายวะฮาบีย์เท่านั้นที่เข้าใจถูกต้อง หากคนอื่นที่ไม่ตรงกับตนถือว่าผิด แบบนี้มันบิดอะฮ์หลุ่มหลงชัดๆ

ความจริง บรรดาอุลามาอ์เขาเข้าใจ โดยแยกแยะประเด็นได้อย่างถูกต้องและไม่ค้านกันเลย แต่วะฮาบีย์พยายามยกบางส่วนและกล่าวหาผิดอีกบางส่วน ทั้งที่อุลามาอ์ได้แยกประเด็นให้แล้ว แต่วะอาบีย์ไม่ยอมรับฟังอะไรทั้งนั้น นอกจากให้เข้าทางกูไว้ก่อน ต่อไปผมจะเข้ามา แค่ทบทวนก็เพียงพอแล้ว เพราะอะสันไม่มีอะไรใหม่แล้ว นอกจากทำหูไปนาตาไปไร่ ไม่ยอมรับฟังและเข้าใจสิ่งที่คนอื่นอธิบาย เพื่อที่จะได้โพสต์แก้โง่ไปวันๆ เท่านั้นเอง

ส่วนนายอะดีล ที่จะเอาผมลงนรกนั้น อิบนุกอยยิม กุเพิ่มเติมหะดิษนบี ดร.สุลัยมาน อัลอัชก๊อร กุเพิ่มหะดิษนบี และ ซอลิหฺเฟาซาน อ้างโกหกต่ออิบนุตัยมียะฮ์โดยโกหกวะฮาบีย์กันเอง อันนี้ก็อย่าลืมเอาลงนรกกับผมเลยนะครับ ฮ่าๆๆ อีกสักพักเดี๋ยวมาชี้แจง แง๊กๆๆ อ๋อ... แล้วที่นายอะดีลกล่าวว่า "ท่านอุมัรสังเสียให้รุมกิน" นั้น อะดีลไปเตาบะฮ์หรือยังหนอ... ไอ้กระผมนั้นไม่อยากจะตบหลักหูใครหรอก เพียงแค่น้องอัล-อัซฮะรีย์ อยากเห็นวะฮาบีย์ใช้คำพูดแบบหยาบๆเท่านั้นเอง เลยแย่ไปสักหนึ่งประโยค ไม่นึกว่าวะฮาบีย์มันจะเอากลับเป็สสิบ พวกเรานั่งขำพฤติกรรมการสนทนาของวะฮาบีย์กันกลิ้ง และคุณอะสันเองก็เคยเสียโง่น้องอัลอัซฮะรีย์ในเวปมุรีดมาแล้วไม่ใช่หรือ? ฮ่าๆๆ แง๊กๆๆ

_________________
ต่อต้านวะฮาบีย์บิดอะฮ์พันธ์ใหม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Sat Apr 22, 2006 11:07 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

นายมุหัมหมัด กล่าวว่า
นายอะดีล(แต่เขาซอลิมกับเราเหมือนกับน้องอัลอัซฮะรีย์ว่าไว้) การเลี้ยงอาหารเป็นทานนั้น มันไม่ใช่ซอดาเกาะฮ์ หรือครับอะดีลวะฮาเบี้ยวตัวจริง?? การทำซอดาเกาะฮ์เป็นทาน "เป็นการทำบุญ" หรือทำบาปนายอะดีล แล้วเราเรียกว่าการเลี้ยงอาหารเป็นทานนั้น คือ "การทำบุญ" นั้นผิดตามภาษาไทยหรือครับนายอะดีล
………………
ตอบ
มาดูความหมายของคำว่า “เศาะดะเกาะฮ”
عَطَاءً، أَيْ مَا يُعْطَى لِلْفُقَرَاءِ تَقَرُّباً لِلَّهِ وَرَجَاءً لِثَوَابِهِ.
การให้ หมายถึง สิ่งที่ถูกมอบให้แก่คนยากจน เพื่อให้ได้ใกล้ชิดต่ออัลลอฮ และหวังในการตอบแทนของพระองค์ –
ที่มากินกันนั้น จนกันจังนะครับท่าน ที่นี้จะสอนอศูลุ้ลฟิกฮ คนเรียนมหาลัยสักหน่อย เชิญครับ
وأخرج الطبراني في "معجمه الكبير"(1647) بسند صحيح عن أبي ذر الغفاري رضي الله عنه قال: قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: "ما بقي شيء يقّرب من الجنة ويباعد من النار؛ إلا وقد بين لكم

และอัฏฏอ็บรอนีย ได้บันทึกไว้ใน “มุอฺญัมอัลกะบีร (หะดิษหมายเลข 1647) ด้วยสายสืบที่เศาะเฮียะ จากอบีซัร อัลฆิฟารีย์ (ร.ฎ)กล่าวว่า ท่านรซูลุ้ลลอฮ ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า “ ไม่มีสิ่งใดที่ทำให้ใกล้ชิดสวรรค์และห่างใกลจากนรก หลงเหลืออยู่ นอกจากได้มีการอธิบายให้พวกท่านแล้ว.
..........................
แล้วพิธีกรรม กินบุญ(หมายถึงกินหมดแล้วจึงไม่เหลือบุญไว้ให้แก่ผู้ตาย) นั้น ทำไมท่านนบีจึงไม่อธิบายให้เราทราบละครับ ในเมื่อมันเป็น สุนัต ตามที่มุหัมหมัด ส่งเสริม
ท่านอิบนุกอ็ยยิม(ขออัลลอฮเมตตาต่อท่าน)กล่าวว่า
"ومعلوم أ نه لا حرام إلا ما حرمه الله ورسوله، ولا تأثيم إلا ما أثم الله ورسوله به فاعله، كما أنه لا واجب إلا ما أوجبه الله، ولا حرام إلا ما حرمه الله، ولا دين إلا ما شرعه الله، فالأصل في العبادات البطلان حتى يقوم دليل على الأمرِ، والأصل في العقود والمعاملات الصحة حتى يقوم دليل على النهي".

และเป็นที่รู้กันว่า แท้จริง ไม่เป็นสิ่งต้องห้าม นอกจาก สิ่งที่อัลลอฮและรซูลของพระองค์ได้ห้ามไว้ และไม่เป็นบาป นอกจากสิ่งที่อัลลอฮและรซูลของพระองค์ กล่าวว่า ผู้กระทำมันนั้น เป็นบาป ในทำนองเดียวกัน ไม่มีวาญิบ นอกจากสิ่งที่อัลลอฮ กำหนดให้มันเป็นวาญิบ ไม่มีหะรอม นอกจากสิ่งที่อัลลอฮ ทรงห้ามมันเอาไว้ และ ไม่ใช่ศาสนา นอกจาก สิ่งที่อัลลอฮทรงบัญญัติมันไว้ หลักเดิมในเรื่อง อิบาดาต นั้น เป็นโมฆะ จนกว่าจะมีหลักฐานใช้ให้กระทำ และหลักเดิม ในเรื่อง การทำข้อตกลงกันและเรื่อง ธุรกิจสังคม นั้น ถูกต้อง(ใช้ได้) จนกว่าจะมีหลักฐานห้าม -
إعلام الموقعين" (1/344
....................
ขอถามสั้นๆว่า “คุณเข้าใจคำว่า ศาสนาของอัลลอฮดีหรือยัง ครับ นักศึกษาผู้อหังกา
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
แสดงการตอบก่อนนี้:   
ตั้งกระทู้ใหม่   กระทู้นี้ถูกปิดคุณไม่สามารถแก้ไขคำตอบหรือตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> ปัญหาศาสนา ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
ไปที่หน้า ก่อนนี้  1, 2, 3 ... 11, 12, 13 ... 25, 26, 27  ถัดไป
หน้า 12 จากทั้งหมด 27

 
ไปยัง:  
คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ใหม่ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลบการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลงคะแนนในแบบสำรวจในกระดานนี้
คุณ สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


Powered by phpBB ฉ 2001, 2002 phpBB Group







ที่ตั้งมูลนิธิ


สำนักงาน มูลนิธิ อนุรักษ์มรดกอิสลาม
เลขที่ 27/5 หมู่ที่ 2 ถนนเลียบวารี แขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพฯ
ติดต่อ : 02-956-9860, 02-956-9958
E-mail : moradokislam@hotmail.com
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ในการนำไปเผยแพร่ในหนทางที่ถูกต้อง และควรระบุแหล่งที่มาของข้อมูล

PHP-Nuke Copyright © 2005 by Francisco Burzi. This is free software, and you may redistribute it under the GPL. PHP-Nuke comes with absolutely no warranty, for details, see the license.
การสร้างหน้าเอกสาร: 0.90 วินาที
IPBNukeRed theme by HOLBROOKau and
PHP-Nuke Thailand ©2004
เธ‚เธญเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธตเธซเธ™เนˆเธญเธขเธ„เธฃเธฑเธšเธชเธกเธฑเธ„เธฃเธ›เธธเนŠเธšเธฃเธฑเธšเธ›เธฑเนŠเธšเน„เธกเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธเธฒเธ เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เน‚เธšเธ™เธฑเธชเน„เธ”เน‰เน€เธ‡เธดเธ™เธˆเธฃเธดเธ‡ slot938 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaicasinobin เนเธˆเธเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธšเธฒเธ„เธฒเธฃเนˆเธฒ เธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ JQK41 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaibet55 kubet เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เนเธ—เธ‡เธšเธญเธฅ เธ‹เธญเธ„เน€เธเธญเธฃเนŒเธฅเธตเธ เธ„เธฐเนเธ™เธ™เธŸเธธเธ•เธšเธญเธฅ เน€เธงเน‡เธšเธžเธ™เธฑเธ™เธญเธฑเธ™เธ”เธฑเธš1 HUC99 เน€เธงเน‡เธšเธ•เธฃเธ‡ เน„เธกเนˆเธœเนˆเธฒเธ™เน€เธญเน€เธขเนˆเธ™เธ•เนŒ